Category: บทความแนะนำ

Russell Lee - Adding a length of drilling pipe at oil well in Seminole oil field, Oklahoma. Wrenches applied to loosen pipe, 1939

ขุดหาน้ำมันกันอย่างไร? ตอน หัวเจาะ

สวัสดีครับ เราจบจากตอนที่แล้วที่การแนะนำประเภทของแท่นขุดเจาะชนิดต่างๆ ที่ขึ้นอยู่กับตำแหน่งของเป้าใต้พื้นดินพื้นน้ำ ตามที่เพื่อนนักธรณีวิทยากำหนดมาให้ ตอนนี้เราก็จะมาว่ากันต่อหลังจากเลือกประเภทของแท่นได้แล้วเราทำอะไรกัน

Read more ›
นักวิจัยสึนามิโบราณในประเทศไทย

นักวิจัยสึนามิโบราณในประเทศไทย

ดร.เครือวัลย์ จันทร์แก้ว นักธรณีวิทยาหญิง ผู้สำรวจและวิจัยสึนามิโบราณในประเทศไทย อดีตนักเรียนทุนพสวท.

Read more ›
แท่นขุดเจาะแบบขายกตั้ง (เครดิตภาพ SISmarine.com)

ขุดหาน้ำมันกันอย่างไร? ตอน แท่นขุดเจาะ

สวัสดีครับเพื่อนพี่น้องชาวนักธรณีและผู้เยี่ยมชมทุกท่าน ผมมีความรู้มาแบ่งปันในเรื่องวิชาชีพวิศวกรขุดเจาะเปลือกโลก บอกก่อนนะครับ ผมจะไม่เล่าแนววิชาการมากมายอะไร เพราะจะหลับปุ๋ยกันไปก่อนจะอ่านกันจบ และ ก็ไม่ได้คาดหวังว่าจะให้เป็นวิศวกรขุดเจาะกัน … ว่าแต่เราจะมาเริ่มขบวนการเจาะเปลือกโลกกันตรงไหนดีล่ะ

Read more ›
ความพิศวงของหินเดินได้

ความพิศวงของหินเดินได้

ปรากฏการณ์หินเดินได้คือสิ่งที่น่าสนใจของอุทยานแห่งชาติเดท วัลลี่ย์ (Death Valley National Park) เนื่องจากมีหินหลายก้อนแสดงร่องรอยการเคลื่อนที่ ซึ่งบ่งบอกว่าก้อนหินเหล่านั้นไม่ได้อยู่นิ่ง หินบางก้อนหนักเป็นหลายร้อยกิโลกรัม ทำให้เกิดคำถามที่น่าคิดว่า “หินเคลื่อนที่ได้อย่างไร?“

Read more ›
วนอุทยานแพะเมืองผี จ.แพร่ เป็นการสลับชั้นของชุดหินตะกอนที่มีความทนทานต่อการผุกร่อนแตกต่างกัน ชั้นที่ผุกร่อนง่ายกว่า (ที่เป็นเสา สีจาง) จะประกอบด้วยดินเหนียวปนทรายเม็ดละเอียด ส่วนชั้นที่ทนทานกว่า (แปะอยู่ด้านบน สีเข้ม) ประกอบด้วยชั้นตะกอนกรวดและทรายปนดินเหนียว โดยมีน้ำเหล็กหรือแมงกานิสช่วยเชื่อมประสานให้แข็ง อายุของชั้นหินเหล่านี้อยู่ในยุคควอเทอร์นารี (

ธรณีวิทยาในคำขวัญประจำจังหวัด

ทุกจังหวัดในประเทศไทย มีคำขวัญที่น่าสนใจ ช่วยบ่งบอกความโดดเด่นและสิ่งที่น่าสนใจในพื้นที่ จังหวัดที่มีลักษณะทางธรณีสัญฐานสวยงาม หรือมีการค้นพบทรัพยากรธรรมชาติสำคัญ ก็จะถูกรวมเข้าไปในคำขวัญด้วย ต่อไปนี้คือคำขวัญประจำจังหวัดที่ช่วยให้เรารู้จักและจดจำธรณีวิทยาของประเทศไทยมากขึ้น

Read more ›
ประโยชน์ของแผ่นดินไหว

ประโยชน์ของแผ่นดินไหว

แผ่นดินไหวเกิดขึ้นทุกวัน ส่วนใหญ่เกิดจากการขยับตัวของรอยเลื่อนมีพลัง การอาศัยอยู่ใกล้รอยเลื่อนจึงมีความเสี่ยง ถ้าสังเกตให้ดีจะพบว่าเมืองสำคัญหลายแห่งตั้งอยู่บนแนวรอยเลื่อน เมื่อเกิดแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ ก็เกิดความเสียหายอย่างมหาศาล แผ่นดินไหวจึงเป็นสิ่งที่เราไม่ต้องการ แต่เมื่อห้ามไม่ได้ เราจะใช้ประโยชน์จากแผ่นดินไหวอย่างไร

Read more ›
การสำรวจแร่ในภาคสนาม

การสำรวจแหล่งแร่: บทบาทของนักธรณีวิทยา

แร่เศรษฐกิจ คือแร่ที่มีคุณค่าและสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมได้ เช่น ทองคำ เงิน เหล็ก เนื่องจากแร่มีค่าเหล่านี้ไม่ได้มีอยู่ทั่วไป การตามหาแหล่งแร่จึงเริ่มต้นจากการสำรวจภาคสนามโดยนักธรณีวิทยา

Read more ›
Faces of Earth

สารคดีการสำรวจโลก Faces of Earth

การศึกษาโลกของนักธรณีวิทยามีหลายรูปแบบ บางคนต้องบินขึ้นที่สูง บางคนต้องขุดลงใต้ดิน บางคนต้องทดสอบในห้องปฏิบัติการ บางคนต้องเดินทางไกล เพื่อให้ได้มาซึ่งความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโลก สำหรับใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานเพื่อพัฒนาการดำรงชีวิตของมนุษย์ในอนาคต

Read more ›
Ian West (2010)

ปิโตรเลียมจากสารอินทรีย์

จุดเริ่มต้นของปิโตรเลียมอยู่ที่ชั้นหินที่มีปริมาณสารอินทรีย์สูงที่เรียกว่า “หินต้นกำเนิด” เป็นหินที่เกิดจากการทับถมกันของเศษตะกอนปนซากพืชซากสัตว์ในอดีตเมื่อหลายล้านปีก่อน ความรู้นี้ยังไม่เปลี่ยน และยังคงเป็นพื้นฐานของการสำรวจปิโตรเลียมทั่วโลกในทุกวันนี้

Read more ›
ภาพแก้วที่กำลังแตกกระจาย เรารู้ได้อย่างไรว่าภาพก่อนหน้านี้และภาพต่อจากนี้จะเป็นอย่างไร?

ธรณีวิทยาที่(ไม่)หยุดนิ่ง

ภาพแก้วที่กำลังแตกกระจาย เรารู้ได้อย่างไรว่าภาพก่อนหน้านี้และภาพต่อจากนี้จะเป็นอย่างไร?

Read more ›