Category: สื่อการเรียนรู้

รอบรู้ธรณีไทย 11 – ขุมทรัพย์ใต้พิภพ

  รอบรู้ธรณีไทย 11 – ขุมทรัพย์ใต้พิภพ Underworld Treasure  แร่ เป็นสารอนินทรีย์ที่เกิดเองตามธรรมชาติ มีสมบัติหลากหลายตามชนิด และส่วนใหญ่มีประโยชน์ต่อมนุษย์ทั้งทางตรง และทางอ้อม ในธรรมชาติแร่ชนิดหนึ่งอยู่ปะปนกับแร่อื่น จึงต้องแยกเสียก่อน มวลธรณีที่พบแร่เศรษฐกิจมากและยังไม่ได้แย ก เรียกว่า สินแร่ (เช่น ฮีมาไทต์ คือสินแร่เหล็ก ถลุงแล้วได้ เหล็ก) ประเภทของแร่ แบ่งใหญ่ตามสมบัติ ได้แก่ แร่โลหะ และแร่อโลหะ แร่โลหะที่พบในประเทศไทย เช่น เหล็ก ดีบุก สังกะสี ตะกั่ว เงิน ทอง ฯลฯ และแร่อโลหะ เช่น ยิปซัม ทัลก์ แคลไซต์ แร่ใยหิน ฯลฯ หรือแบ่งตามประโยชน์ เช่น แร่รัตนชาติ หรือแร่เชื้อเพลิง แร่รัตนชาติ แบ่งกลุ่มเป็น เพชร และพลอย (พลอยยังแบ่งย่อยอีกหลายกลุ่ม เช่น ทับทิม ไพลิน พลอยเขียว บุษราคัม นิล ฯลฯ) […]

Read more ›

รอบรู้ธรณีไทย 10 – ธรณีพิบัติภัย

  รอบรู้ธรณีไทย 10 – ธรณีพิบัติภัย Geological Disaster  ภัยธรรมชาติทางธรณีวิทยาในประเทศไทยถือว่า พบน้อยกว่าส่วนอื่นของโลก ได้แก่  1.ดินถล่ม (โคลนถล่ม) เกิดจากฝนตกหนักน้ำไหลบ่าบนที่สูงชัน  2.แม่น้ำกัดเซาะตลิ่งพัง และหลุมยุบ เกิดตามธรรมชาติแต่กิจกรรมของมนุษย์เป็นตั วเร่ง เช่น การสูบทราย การสูบน้ำบาดาล  3. แผ่นดินไหว และสึนามิ ประเทศไทยไม่ใช่แนวแผ่นดินไหวแต่ก็มีพื้นท ี่เสี่ยงภัย ภาคตะวันตกและชายฝั่งอันดามัน ควรสังเกตปรากฏการณ์ดึงมวลน้ำซึ่งเป็นสัญญ าณก่อนเกิดสึนามิ   ต้นฉบับ: รอบรู้ธรณีไทย  ผลิต: สำนักธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี (Thailand’s Department of Mineral Resources) http://www.dmr.go.th

Read more ›

รอบรู้ธรณีไทย 9 – ตามรอยไดโนเสาร์ไทย

  รอบรู้ธรณีไทย 9 – ตามรอยไดโนเสาร์ไทย Thai Dinosaurs  ฟอสซิล (ซากดึกดำบรรพ์) เกิดจากการเกิดชั้นหินตะกอนทับถมปกคลุมซาก สิ่งมีชีวิต ไดโนเสาร์ที่พบในประเทศไทยมีทั้งกลุ่ม ซอโรพอด (ไดโนเสาร์กินพืชขนาดใหญ่) เช่น ภูเวียงโกซอรัสสิรินธรเน เป็นกระดูกจำนวนมากค่อนข้างสมบูรณ์ กลุ่ม เทอโรซอร์ (ไดโนเสาร์กินเนื้อสองขา) เช่น สยามโมไทรันนัสอิสานเอนซิส ต้นตระกูลของทีเร็กซ์ เป็นกระดูกครึ่งตัว กลุ่ม ซิตตาโกซอร์ (ไดโนเสาร์ปากนกแก้ว) เป็นกระดูกขากรรไกร กลุ่ม คาร์โนซอร์ (ไดโนเสาร์ล่าเนื้อขนาดเล็ก) เป็นรอยเท้าจำนวนมาก   ต้นฉบับ: รอบรู้ธรณีไทย  ผลิต: สำนักธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี (Thailand’s Department of Mineral Resources) http://www.dmr.go.th

Read more ›

รอบรู้ธรณีไทย 8 – ฟอสซิลไทย

  รอบรู้ธรณีไทย 8 – ฟอสซิลไทย Fossil in Thailand  แหล่งซากดึกดำบรรพ์ทำให้รู้ความเป็นมาของส ิ่งมีชีวิต เช่น มนุษย์เกิดขึ้นเมื่อ 5 ล้านปี หรือเป็นหลักฐานว่า เปลือกโลกเปลี่ยนแปลงทำให้แผ่นดินจมลงกลาย เป็นทะเล หรือทะเลยกตัวขึ้นกลายเป็นแผ่นดิน ฟอสซิลพบเฉพาะในหินตะกอน และมักพบโดยบังเอิญ ในประเทศไทยพบทั้งฟอสซิลของ หอยโบราณ หอยกาบยักษ์ ปลาน้ำจืดโบราณ เฟิร์น พืชน้ำ หนอนโบราณ ช้างโบราณ จระเข้ วัว เอป (ลิงโบราณบรรพบุรุษของลิงไร้หางและมนุษย์)   ต้นฉบับ: รอบรู้ธรณีไทย  ผลิต: สำนักธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี (Thailand’s Department of Mineral Resources) http://www.dmr.go.th

Read more ›

รอบรู้ธรณีไทย 7 – ภูมิลักษณ์ประเทศไทย

  รอบรู้ธรณีไทย 7 – ภูมิลักษณ์ประเทศไทย Geological Strange Place of Thailand  การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกทำให้เกิดภูมิป ระเทศแปลกๆ เป็นสถานที่ท่องเที่ยว  1.จากการกัดเซาะผุพัง เช่น แพะเมืองผี ละลุ เสาดิน ออบหลวง ผาวิ่งชู้ เสาเฉลียง ป่าหินงาม ภูผาเทิด ลานหินปุ่ม เขาตะปู ซุ้มหินชายฝั่ง  2.จากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลก เช่น ภูชี้ฟ้าและผาตั้ง เขาช่องกระจก เขาพิงกัน หมู่เกาะอ่างทอง  3.แหล่งภูเขาไฟเก่า เช่น ผาคอกหินฟู ผาจำปาแดด ภูพระอังคาร  4.แหล่งน้ำพุร้อน เช่น สระมรกต   ต้นฉบับ: รอบรู้ธรณีไทย  ผลิต: สำนักธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี (Thailand’s Department of Mineral Resources) http://www.dmr.go.th

Read more ›

รอบรู้ธรณีไทย 6 – สายลมและกระแสน้ำ

  รอบรู้ธรณีไทย 6 – สายลมและกระแสน้ำ Erosion by Tides & Winds  กระแสน้ำกระแสลมผุกร่อนเปลือกโลกทำให้เกิด ภูมิประเทศต่างๆ ถ้าและหินงอกหินย้อยเกิดจากฝนซึ่งเป็นสารล ะลายหินปูนซึมเป็นลำธารใต้ดินและกัดกร่อนภ ูเขาหินปูน ช่วงหลังยุคน้ำหลังใหม่ๆ แผ่นดินต่ำกว่าระดับน้ำทะเล 10 เมตร รวมถึงกรุงเทพฯ เคยจมใต้ทะเล

Read more ›

รอบรู้ธรณีไทย 5 – ภูเขาและที่ราบสูง

  รอบรู้ธรณีไทย 5 – ภูเขาและที่ราบสูง Origin of Mountain & Highland – Mountain & Highland in Thailand  ภูเขาและที่ราบสูงเกิดจากหลายสาเหตุ ได้แก่ 1.เทือกเขาหิมาลัยเกิดจากการชนกันของแผ่นเ ปลือกโลก 2.หินหนืดดันเปลือกโลก 3.เปลือกโลกถูกบีบอัดจนโค้งงอ 4.บริเวณโดยรอบผุกร่อนเหลือส่วนที่แข็งกว่าเป็นที่สูง และพิจารณาที่มาและลักษณะของภูเขาและที่ราบสูงในภาคต่างๆ

Read more ›

รอบรู้ธรณีไทย 4 – กำเนิดสุวรรณภูมิ

  รอบรู้ธรณีไทย 4 – กำเนิดสุวรรณภูมิ Origin of Goldent Land, Indochinese peninsula  การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก ทำให้ 2 อนุทวีปบรรจบกันเกิดเป็นแผ่นดินไทย และมีแนวรอยต่อของอนุทวีปเป็นที่ราบสูงซึ่ งเป็นแหล่งแร่สำคัญ และมีแนวคดโค้งโก่งตัวของเทือกเขาเหนือ-ใต ้   ต้นฉบับ: รอบรู้ธรณีไทย  ผลิต: สำนักธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี (Thailand’s Department of Mineral Resources) http://www.dmr.go.th

Read more ›

รอบรู้ธรณีไทย 3 – ย้อนเวลาหาอดีต

  รอบรู้ธรณีไทย 3 – ย้อนเวลาหาอดีต Back to the Past, Evolution of Life  กำเนิดและวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ศึกษาจากฟอสซิลในหินตะกอน ทำให้รู้จักมาตราธรณีกาล 3 มหายุคที่สำคัญ ได้แก่ พาลีโอโซอิก มีโซโซอิก ซีโนโซอิก

Read more ›

รอบรู้ธรณีไทย 2 – หิน

รอบรู้ธรณีไทย 2 – หิน Rocks Cycle การเกิดและวัฏจักรของหินทั้งสามจำพวก ได้แก่ หินอัคนี หินตะกอน หินแปร ต้นฉบับ: รอบรู้ธรณีไทย ผลิต: สำนักธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี (Thailand’s Department of Mineral Resources) http://www.dmr.go.th

Read more ›