นิติ มั่นเข็มทอง นักธรณีฟิสิกส์

by

สวัสดีครับ ครั้งนี้เรามีเพื่อนที่น่าสนใจมาแนะนำกันอีกเช่นเคย น้องนิติเพิ่งได้รับรางวัลยอดเยี่ยมมาจากงาน 2008 Conference & Expo Reno, Nevada จะเป็นรางวัลอะไรนั้น เราลองมาฟังน้องนิติกัน

ดร.นิติ มั่นเข็มทอง

 

ช่วยแนะนำตัวหน่อยครับ

เป็นนักเรียนทุนโท-เอกของกระทรวงวิทย์ ปี 48 สาขาธรณีฟิสิกส์ ครับ

 

น้องได้ไปร่วมงาน Conference & Expo Reno 2008 มา ช่วยเล่าเกี่ยวกับงานนี้ก่อนว่า เป็นงานประเภทไหน มีอะไรในงานบ้างครับ และ Geothermal Resources Council คืออะไรครับ

เป็นงานเสนอผลงานทางวิชาการประจำปี  มีทั้งการเสนอผลงานแบบ Oral and Poster presentations การจัดนิทรรศการของบริษัทที่เกี่ยวข้องกับการสำรวจ วิจัยและการผลิตไฟฟ้า ที่เกี่ยวกับพลังงานความร้อนใต้ภิภพ

คนร่วมงานส่วนใหญ่ ก็จะเป็นทั้งจากภาคมหาวิทยาลัย หน่วยงานรัฐทางธรณีวิทยา และตัวแทนของบริษัทเอกชน ส่วนมากก็จะมาจากทางแถบตะวันตกของอเมริกา เพราะว่าเป็นพื้นทางธรณีมีศักยภาพในการพัฒนาความร้อนใต้ภิภพ

ในงานก็มีการนำเสนอทั้งเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการค้นหาแหล่งพลังานใต้ภิภพ ทั้งส่วนของธรณีวิยา และวิศวกรรมศาสตร์ การประชุมประจำปีของคณะกรรมการ รวมถึงการแลกเปลี่ยนความรู้ทางวิชาการกัน

จากความรู้สึกผมงานนี้ยังไม่ใช่เป็นงานในระดับนานาชาติ เหมือนงานนำเสนอผลงานทางธรณีอื่นๆ เนื่องด้วยเพราะงานสำรวจความร้อนใต้ภิภพ ยังเป็นที่สนใจของคนน้อย เมื่อเที่ยบกับการประชุมวิชาการเกี่ยวกับการสำรวจปิโตรเลียมของ AAPG (American association of Petroleum Geosciences)

 

ที่ไปร่วมงานนี้  University of Nevada, Reno กำหนดให้ไปหรือว่าเราเลือกไปครับ

ที่จริงแล้วผมไม่ได้ตั้งใจจะไปนำเสนอผลงานที่นี้หรอกคับ เพราะตัวงานของผมจริงๆ เกี่ยวข้องกับความร้อนใต้ภิภพ แค่ในบทภาคประยุกษ์ เพราะงานที่แท้จริงผมเป็นการสำรวจทางธรณ๊ฟิสิกส์มากกว่า เลยตั้งใจจะงานไปนำเสนออีกงานประชุมมากกว่า (ของ SEG Society of Exploration Geophysics) แต่อาจารย์ที่ปรึกษาเห็นว่า งานประชุมครั้งนี้จัดที่ Reno คือเราไม่ต้องเดินทางไปไกล อาจารย์ก็เลยคิดกับเราว่า ถ้าเราตัดเอาบางส่วนของวิทยานิพนธ์มานำเสนอก็ได้ ก็เลยส่งงานเข้าร่วม

 

ทราบว่าได้รับรางวัลจากงานนี้มาด้วย ช่วยเล่าเกี่ยวกับรางวัลนี้หน่อยครับ และการตัดสินซึ่งทำให้ของเราเป็น Best Poster นี้ เขาพิจารณาอะไรบ้างในงานแต่ละชิ้นของผู้เข้าร่วม

เป็นรางวัลยอดเยี่ยมการนำเสนอผลานในส่วนของ Poster Presentation ร่วม จากทุกคนที่ส่งผลงาน ที่จริงแล้วไม่ทราบว่าเขาในเกณฑ์อะไรในการตัดสิน และผมก็เชื่อว่าผมไม่ได้นำเสนอผลงานดีเด่นอะไรหรอกครับเพราะเราก็พูดตามที่เราเข้าใจ และภาษาเราก็ไม่ดีมาก แต่ผมว่าเราเด่นกว่าผลงานคนอื่น ตรงที่การวางเนื้อหาบน Poster มากกว่าครับ ที่ทำให้ดูอ่านง่ายไม่รก เพราะอย่างน้อยผมเชื่อว่าเมื่อใครเอามาอ่านของเราจะสามารถเข้าใจได้ง่าย แม้ว่าจะไม่มีความรู้พื้นหลัง ในพื้นที่ที่ผมศึกษามาก่อน

 

Poster ที่ทำนี้ เห็นว่าเป็นงานร่วมกับเพื่อนอีก 2 ท่าน แต่ละท่านเป็นใคร และมีหน้าที่หรือมีส่วนร่วมในการออกแบบ Presentation หรือ Poster อย่างไรครับ

คนแรกเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาครับ เขาช่วยเราเยอะมากเนื่องจากภาษาเราไม่ดีด้วย เขาเลยต้องคอยคัดกรองภาษาของเราตลอดเลย ตลอดจนในบทของอภิปรายผลการทดลองด้วย เนื่องจากงานวิทยานิพนท์ของผมตอนที่ส่งมาผลการแปลความหมายจากข้อมูลภาคสนามเรายังไม่เสร็จดีเลยครับ คือวันที่ส่งบทคัดย่อ ก็สรุปกันสดๆ เลยครับ

ส่วนอีกคนเป็นเพื่อนในทีม เขาช่วยเราเก็บข้อมูลในภาคสนามเนื่องจากอาจารย์ที่ปรึกษาเห็นว่า เราไม่มีประสบการณ์ในการขับรถในอเมริกา ยิ่งพื้นที่ที่ผมเก็บข้อมูลเป็นพื้นที่ในเขตกึ่งทะเลทราย เพื่อนเขาเลยมาช่วยเรา แต่หลังจากนั้เนเราก็ต้องช่วยเหลือตัวเอง

 

รางวัลที่ได้รับมีอะไรบ้างครับ

ก็เป็นเกียรติบัตร กับเงินร้อยเหรียญครับ แต่ที่สำคัญก็เป็นความภาคภูมิใจนะครับ เป็นรางวัลชิ้นแรกในต่างแดนเลยก็ว่าได้ อีกทั้งผมก็ได้มี  Paper เป็นของตัวเอง แม้มันไม่ได้ยิ่งใหญ่อะไรมาก แต่มันก็ดีใจนะครับ

 

ยังมี Conference อื่นที่จะต้องเข้าร่วมอีกไหมในอนาคต และผลงานนี้จะนำไปใช้อีกได้หรือไม่

ที่จริงแล้วผมเพิ่งจบการศึกษาจาก Reno มา ผมอยากจะนำผลงานทั้งหมดไปนำเสนออีกครั้ง คาดว่าจะเป็นปลายปีนี้ ไม่ที่ Houston, TX หรือ Portland, OR ขึ้นอยู่กับงบประมาณและเวลานะครับ

แต่อย่างน้อย ผมก็ได้นำเสนอผลงานนี้ที่มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เมื่อครั้งที่ผมกลับไปเยี่ยมบ้านที่เมืองไทยด้วย ก็ไปคุยให้อาจารย์ เพื่อนๆ น้องๆ ฟังว่า เราได้ไปทำอะไรมาบ้าง

ประสบการณ์ในการทำงานชิ้นนี้ก็จะนำไปใช้ในระดับปริญญาเอกอีกครั้ง เพราะเนื้อหาจริงๆ ต่างกันไม่มากรวมถึงเมื่อจบการศึกษา เพราะงานที่ผมทำ เราสามารถนำไปใช้ได้ที่บ้านเราได้อย่าง ไม่ต้องลงทุนอะไรเพิ่มเลย

 

เชื่อว่า เพื่อนๆ และน้องๆ ก็คงจะต้องมีการทำงานที่คล้ายคลึงเช่นเดียวกับน้องนิติ แต่อาจจะต่างสาขา เป็นงานคนละประเภท แต่เชื่อว่าประสบการณ์ที่ได้รับน่าจะคล้ายคลึงกัน  น้องนิติอยากจะแบ่งปันประสบการณ์นี้ให้กับรุ่นน้องๆ อย่างไรบ้างครับ

เมื่อทุกคนได้อยู่ที่นี่ได้เห็นระบบการทำงาน หรือลักษณะคนที่นี่ ก็น่าจะเข้าใจเหมือนผมว่า คนอเมริกันไม่ได้เก่งกว่าเราเลยครับ เขาอาจจะใช้ภาษาได้ดีกว่า และมีการนำเสนอที่มากกว่าเรา ถ้าเราคิดว่าเราทำงานของเราเอง เป็นผลงานของเราไม่ต้องกลัวเลยครับ ที่จะนำเสนองานว่า เราก็ทำได้ และอีกอย่างก็สนับสนุนให้ทุกคนนำผลงานไปเสนอตามที่ประชุมต่างๆ ครับ เพราะเราจะได้เปิดโลกทัศน์ที่มากกว่าที่โรงเรียนของเรา รวมถึงเราจะได้ไปเที่ยวในเวลาเดียวกัน บางครั้งหน่วยงานวิจัยของเราสนับงบประมาณด้วย ที่สำคัญคือการนำเสนอผลงานเป็นการบังคับตัวเองให้เราต้องให้เวลากับงานวิจัยมากๆ เพราะเราต้องส่งผลงานตามเวลาที่กำหนด แล้วผลพลอยได้คือ เราจะได้เรียนจบไวๆ ครับ

อีกอย่างถ้าเป็นสถาบันการศึกษาที่เมืองไทยที่เราจะต้องกลับไปทำงาน ก็น่าสนับสนุนครับ ก็ใช้เวลาในช่วงที่เรากลับบ้านนั่นแหละเพราะ อย่างน้อยเขาจะได้เห็นความก้าวหน้า รวมถึงความถนัดในสาขาวิชาที่เราร่ำเรียนมา อีกอย่างงประสบการณ์การศึกษาต่างประเทศของเราก็อาจจะจุดประกายให้กับรุ่นน้อง ที่เมืองไทยที่เขาอยากจะมาเรียนต่อแบบพวกเรา

 

อยู่เท็กซัส แต่ไปเสนอผลงานที่รีโน คงต้องมีค่าใช้จ่ายพอสมควร ใครออกค่าใช้จ่าย หรือขอเบิกไปยังเจ้าของทุนหรือเปล่าครับ (หรืองานนี้เกิดขึ้นขณะอยู่ U. of Nevada, Reno ก่อนย้ายไป UTEP)

งานที่ผมไปร่วมนั้นแทบไม่ได้จ่ายอะไรเลย เพราะอยู่ในเมืองเดียวกัน (ตอนนั้นยังเรียนอยู่ที่ U. of Nevada, Reno) ค่าเข้างานก็ไม่ต้องเสียเพราะเราเป็นนักศึกษา เพราะว่าการจัดงานครั้งนั้นได้รับการสนับสนุนจากบริษัททางด้านพลังงานพอควรแต่ทั่วไปงานประชุมที่ผมไปร่วมทุกครั้งทางภาควิชา และหน่วยงานวิจัยที่ผมอยู่ ก็จ่ายให้ทั้งหมดนะครับ ถ้าเรามีงานเข้าไปเสนอ ที่สำคัญเราก็ได้เที่ยวไปด้วย

ดร.นิติ มั่นเข็มทอง ถ่ายรูปกับสไลด์สุดท้ายที่ใช้นำเสนอ ที่ University of Texas at El Paso เมื่อวันที่ 19 พ.ย. 2555

 

น้องนิติ คาดว่าจะสำเร็จการศึกษา Ph.D. เมื่อไรครับ และจะต้องกลับไปทำงานที่ไหน

ผมเพิ่งเข้าเรียนระดับปริญญาเอก ที่ University of Texas at El Paso เมื่อต้นปีที่ผ่านมา คาดว่าจะจบก็ไม่น่าเกินสี่ปีนะครับ เพราะเรามีหัวข้อวิจัยแล้ว เป็นการสำรวจธรณีฟิสิกส์บริเวณพื้นที่ที่มีศักยภาพทางปิโตเลียมในเขตอลาสกาตอนใต้ ซึ่งตอนนี้ก็ได้เริ่มศึกษาข้อมูลแล้ว คาดว่าหน้าร้อนที่จะถึงผมอาจจะได้ไปเที่ยวอลาสกาด้วยครับ

เมื่อจบการศึกษาก็จะกลับไปใช้ทุน ที่ภาควิชาธรณีวิทยา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ซึ่งเป็นที่ผมจบการศึกษามาด้วยครับ

 

ขอบคุณน้องนิติมากครับที่มีคุยกับเราในครั้งนี้ เพื่อนๆ คงได้ความรู้ดีๆ ไม่มากก็น้อยจากการสนทนาของเรา จะเห็นได้ว่ารางวัลนั้นไม่ใช่เรื่องใหญ่ แต่ความภูมิใจต่างหาก ที่เป็นสิ่งที่น่าจดจำไม่ลืม  เราเองก็ภูมิใจแทนน้องด้วยเช่นกัน หากเพื่อนๆ มีเรื่องดีๆ เช่นนี้ อยากจะมาแบ่งปันกันอีก เรายินดีไปคุยด้วยนะครับ ก็กระซิบมาได้เลย เราจะนำมาเล่าให้เพื่อนๆ ฟังกันเช่นนี้อีกครับ สวัสดี

บทสัมภาษณ์นี้เผยแพร่ครั้งแรกในเว็บไซต์ สำนักงานผู้ดูแลนักเรียนในสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 2 ก.พ. 2552 โดยคุณ Korn T.

 

ปัจจุบัน ดร.นิติ มั่นเข็มทอง ได้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก ทางด้านธรณีฟิสิกส์ จาก University of Texas at El Paso และกำลังจะกลับไปปฏิบัติงานการสอนและการวิจัยที่ภาควิชาธรณีวิทยา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ระหว่างการศึกษาปริญญาเอก ดร.นิติ มั่นเข็มทอง ได้เขียนบทความและเผยแพร่ความรู้ทางธรณีวิทยาให้กับเว็บไซต์วิชาการธรณีไทย และเป็นหนึ่งในทีมนักธรณีวิทยาผู้ดูแลเว็บไซต์วิชาการธรณีไทย GeoThai.net ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2550

ดร.นิติ มั่นเข็มทอง ทีมงาน GeoThai.net

 

350-018
C_TFIN52_66
HP0-J73
70-687
ICBB
70-457
N10-005
1Z0-061
220-801
70-465
C4090-958
MB6-700
OG0-093
646-206
EX0-001
70-413
M70-201
117-101
810-420
C2180-276
C4040-221
1Z0-599
350-029
820-421
C_THR12_66
117-102
70-342
70-460
74-338
MB6-871
200-101
70-484
C2090-303
MB6-886
1Z0-481
1Z0-899
400-051
70-246
70-496
74-343
C2180-278
MB7-702
1Z0-051
1Z0-144
312-50v8
70-685
C_A1FIN_10
C4040-108
PMI-001
1Z0-478
98-349
MB2-702 dump
70-487 dump
70-243 dump
70-414 dump
70-466 dump
70-331 dump
EX300 dump
1Z0-060 dump
MB2-701 dump
70-467 dump
EX200 dump
M70-301 dump
70-489 dump
220-802 dump
050-SEPROAUTH-02 dump
M70-101 dump
70-458 dump
CCD-410 dump
70-341 dump
70-464 dump
70-680 dump
74-335 dump
HP0-J73
1Z0-060
MB2-701
70-467
EX200
350-001
700-505
640-911
M70-301
70-489
220-802
700-501
050-SEPROAUTH-02
M70-101
70-458
CCD-410
70-341
70-464
70-680
74-335
350-018
C_TFIN52_66
HP0-J73
70-687
ICBB
70-457
N10-005
1Z0-061
220-801
70-465
C4090-958
MB6-700
OG0-093
646-206
EX0-001
70-413
M70-201
117-101
810-420
C2180-276
C4040-221
1Z0-599
350-029
820-421
C_THR12_66
117-102
70-342
70-462 exam
200-120 exam
70-488 exam
MB2-703 exam
70-411 exam
MB5-705 exam
C_TADM51_731 exam
70-346 exam
70-486 exam
70-347 exam
70-480 exam
70-483 exam
70-412 exam
70-463 exam
MB2-700 exam
70-417 exam
C_TAW12_731 exam
400-101 exam
MB2-702 exam
70-487 exam
70-243 exam
VCP-550 exam
70-414 exam
70-466 exam
100-101 exam
JN0-102 exam
VCP550 exam
640-554 exam
70-331 exam
EX300 exam
1Z0-060 exam
MB2-701 exam
70-467 exam
EX200 exam
350-001 exam
700-505 exam
640-911 exam
M70-301 exam
70-489 exam
220-802 exam
700-501 exam
050-SEPROAUTH-02 exam
M70-101 exam
70-458 exam
CCD-410 exam
70-341 exam
70-464 exam
70-680 exam
74-335 exam
350-018 exam
C_TFIN52_66 exam
HP0-J73 exam
70-687 exam
ICBB exam
70-457 exam
N10-005 exam
1Z0-061 exam
220-801 exam
70-465 exam
C4090-958 exam
MB6-700 exam
OG0-093 exam
646-206 exam
EX0-001 exam
350-029 exam
70-410 test
70-461 test
70-462 test
200-120 test
70-488 test
MB2-703 test
70-411 test
MB5-705 test
70-346 test
70-486 test
70-347 test
70-480 test
70-483 test
70-412 test
70-463 test
MB2-700 test
70-417 test