Tag: ไดโนเสาร์

ทำไมเพลสิโอซอร์จึงไม่จัดว่าเป็นไดโนเสาร์

ทำไมเพลสิโอซอร์จึงไม่จัดว่าเป็นไดโนเสาร์

ฟุตาบะซอรัส ดึกดำบรรพ์ที่ปรากฏตัวในภาพยนตร์แอนิเมชันการ์ตูน โดราเอมอน ตอน “ไดโนเสาร์ของโนบิตะ” ฉายในปีพ.ศ. 2549 ความจริงแล้วไม่จัดว่าเป็นไดโนเสาร์ แต่ถือเป็นหนึ่งในสัตว์เลื้อยคลานทางทะเลในกลุ่มเพลสิโอซอร์ (plesiosaur) ซึ่งอาศัยอยู่ร่วมยุคกับไดโนเสาร์ ทำไมถึงเป็นเช่นนั้น?

Read more ›
วนอุทยานแพะเมืองผี จ.แพร่ เป็นการสลับชั้นของชุดหินตะกอนที่มีความทนทานต่อการผุกร่อนแตกต่างกัน ชั้นที่ผุกร่อนง่ายกว่า (ที่เป็นเสา สีจาง) จะประกอบด้วยดินเหนียวปนทรายเม็ดละเอียด ส่วนชั้นที่ทนทานกว่า (แปะอยู่ด้านบน สีเข้ม) ประกอบด้วยชั้นตะกอนกรวดและทรายปนดินเหนียว โดยมีน้ำเหล็กหรือแมงกานิสช่วยเชื่อมประสานให้แข็ง อายุของชั้นหินเหล่านี้อยู่ในยุคควอเทอร์นารี (

ธรณีวิทยาในคำขวัญประจำจังหวัด

ทุกจังหวัดในประเทศไทย มีคำขวัญที่น่าสนใจ ช่วยบ่งบอกความโดดเด่นและสิ่งที่น่าสนใจในพื้นที่ จังหวัดที่มีลักษณะทางธรณีสัญฐานสวยงาม หรือมีการค้นพบทรัพยากรธรรมชาติสำคัญ ก็จะถูกรวมเข้าไปในคำขวัญด้วย ต่อไปนี้คือคำขวัญประจำจังหวัดที่ช่วยให้เรารู้จักและจดจำธรณีวิทยาของประเทศไทยมากขึ้น

Read more ›
นิตยสารไนส์ 2 ไดโนเสาร์

นิตยสารไนส์ 2 ไดโนเสาร์

gneiss นิตยสารออนไลน์ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับธรณีวิทยาและการท่องเที่ยว จัดทำโดย GeoThai.net เล่มที่ 2 มีเนื้อหาหลักเกี่ยวกับ ไดโนเสาร์ ซึ่งประกอบด้วย5 เหตุการณ์การสูญพันธุ์ครั้งใหญ่ – เรื่องที่ไม่ลับของไดโนเสาร์ – การจำแนกไดโนเสาร์ – ไดโนเสาร์ที่ใหญ่ที่สุดในโลก – นักธรณีพาเที่ยวซานฟรานซิสโก

Read more ›
การสูญพันธุ์ครั้งใหญ่ของสิ่งมีชีวิต

การสูญพันธุ์ครั้งใหญ่ของสิ่งมีชีวิต

รู้หรือไม่ว่ากว่า 90 เปอร์เซ็นต์ของสิ่งมีชีวิตทั้งหมดที่เคยอาศัยอยู่บนโลกใบนี้ได้สูญพันธุ์ไปแล้ว ในขณะที่สิ่งมีชีวิตรุ่นเก่าที่เคยรุ่งเรืองก็ได้ค่อยๆ หายสาบสูญไป สิ่งมีชีวิตรุ่นใหม่พยายามพัฒนาและสามารถปรับตัวให้ดำรงอยู่รอดในสภาวะ-แวดล้อมที่มีการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศน์อยู่ตลอดเวลา อัตราการสูญพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตไม่ได้คงที่ตลอด การสูญสิ้นสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์มากกว่า 50-90 เปอร์เซ็นต์เกิดขึ้นในช่วง 500 ล้านปีที่ผ่านมา ถือว่าเป็นเพียงแค่ช่วงเวลาสั้นๆ เมื่อเทียบกับอายุของโลก 4,600 ล้านปี

Read more ›
เสือใหญ่เล่าเรื่องดวงของคนจะดัง

เสือใหญ่เล่าเรื่องดวงของคนจะดัง

นเรศ สัตยารักษ์ – ผมเริ่มรับราชการที่กรมทรัพยากรธรณีเมื่อปี 2515 ในปีแรกก็ได้รับมอบหมายให้ทำงานในพื้นที่แนวรอยต่อของเพชรบูรณ์กับขอนแก่น โดยมีลูกพี่ที่ผมยกให้เป็นสุดยอดลูกพี่และปรมาจารย์ ดร. จงพันธ์ จงลักษณมณี เป็นหัวหน้าหน่วย หลังจากนั้นก็ยังทำงานอยู่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมาโดยตลอด ผมก็เลยมีโอกาสท่องไปทั่วแคว้นแดนอีสาน ขนาดที่คุยได้ว่าไปนอนมาแล้วทุกอำเภอ  และเนื่องจากหินที่คลุมอยู่ทั่วที่ราบสูงก็ย่อมเป็นกลุ่มหินโคราชแน่นอน ผมก็คุยได้อีกแหละว่าผมไปปีนเทือกเขาทั้งหมดในอีสาน เห็นหินโคราชทุกระวางแผนที่มาแล้วละ

Read more ›
ไดโนเสาร์สัญชาติไทย

ไดโนเสาร์สัญชาติไทย

ไม่ค่อยรู้เลยว่าจริงๆ แล้ว เรามีไดโนเสาร์สัญชาติไทยที่ถูกค้นพบในบ้านเราหลายชนิด และกำลังเริ่มทยอยถูกตั้งชื่อจากภาษาไทยอย่างเป็นทางการ หลังจากที่ได้แอบคุยกับทีมงาน ก็ทำให้ได้ความรู้เพิ่มเติมมากขึ้น (จากที่ไม่รู้เรื่องอะไรเลย) วันนี้ก็เลยอยากเอามาแบ่งปันชาว GT บ้างอะไรบ้าง ไดโนเสาร์น้องใหม่ที่จะแนะนำให้รู้จักในวันนี้ มีชื่องดงามมากทีเดียว จะเป็นตัวอะไรนั้น มาดูกัน

Read more ›

[เกม] ขุดกระดูกไดโนเสาร์

เกมออนไลน์จาก National Geographic ให้ความรู้เกี่ยวกับไดโนเสาร์ เล่นได้ทั้งเด็กและผู้ใหญ่ คล้ายกับเกม mahjong solitaire/Taipei คลิกเล่นตามลิงค์ Online Game: Dig for Dinosaur Bones

Read more ›

รอบรู้ธรณีไทย 9 – ตามรอยไดโนเสาร์ไทย

  รอบรู้ธรณีไทย 9 – ตามรอยไดโนเสาร์ไทย Thai Dinosaurs  ฟอสซิล (ซากดึกดำบรรพ์) เกิดจากการเกิดชั้นหินตะกอนทับถมปกคลุมซาก สิ่งมีชีวิต ไดโนเสาร์ที่พบในประเทศไทยมีทั้งกลุ่ม ซอโรพอด (ไดโนเสาร์กินพืชขนาดใหญ่) เช่น ภูเวียงโกซอรัสสิรินธรเน เป็นกระดูกจำนวนมากค่อนข้างสมบูรณ์ กลุ่ม เทอโรซอร์ (ไดโนเสาร์กินเนื้อสองขา) เช่น สยามโมไทรันนัสอิสานเอนซิส ต้นตระกูลของทีเร็กซ์ เป็นกระดูกครึ่งตัว กลุ่ม ซิตตาโกซอร์ (ไดโนเสาร์ปากนกแก้ว) เป็นกระดูกขากรรไกร กลุ่ม คาร์โนซอร์ (ไดโนเสาร์ล่าเนื้อขนาดเล็ก) เป็นรอยเท้าจำนวนมาก   ต้นฉบับ: รอบรู้ธรณีไทย  ผลิต: สำนักธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี (Thailand’s Department of Mineral Resources) http://www.dmr.go.th

Read more ›
ไพรเมตสกุลใหม่ของโลกและพ.ร.บ.ซากดึกดำบรรพ์ฉบับใหม่

ไพรเมตสกุลใหม่ของโลกและพ.ร.บ.ซากดึกดำบรรพ์ฉบับใหม่

นักธรณีวิทยาไทยพบซากฟอสซิลไพรเมตจมูกเปียกวงศ์ศิวะอะเดปิดขนาดเล็กที่สุดในโลกที่เหมืองถ่านหินแม่เมาะ มีน้ำหนักเพียง 5 ขีด สร้างสถิติพบครั้งแรกในไทยและในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โยงความสัมพันธ์เป็นบรรพบุรุษของลิงลมในเกาะมาดากัสการ์ ทวีปแอฟริกา และการค้นพบไพรเมตรชนิดนี้ ส่งผลให้เกิดความคุ้มครองซากดึกดำบรรพ์และแหล่งซากดึกดำบรรพ์จนเกิดเป็น “พระราชบัญญัติคุ้มครองซากดึกดำบรรพ์ พ.ศ.2551” ที่จะมีผลบังคับใช้ในต้นเดือนสิงหาคมนี้

Read more ›
ไดโนเสาร์ตะลุยโลกล้านปี

ไดโนเสาร์ตะลุยโลกล้านปี

ไดโนเสาร์ตะลุยโลกล้านปี ใครจะเชื่อบ้างว่า…ครั้งหนึ่งแผ่นดินอีสานเคยเป็นที่วิ่งเล่นของเหล่าไดโนเสาร์ !!! และในแดนดินถิ่นอีสานบ้านเรายังเป็นแหล่งค้นพบไดโนเสาร์ชนิดใหม่ของโลกถึง 5 ชนิดด้วยกัน !!!

Read more ›