Year: 2008

จำแนกแร่ในสิบขั้นตอน

จำแนกแร่ในสิบขั้นตอน

โลกนี้มีแร่มากมายหลายชนิด หน้าตาแตกต่างกันออกไป บางแร่สวยงาม บางแร่มีลักษณะโดดเด่น การที่จะรู้ได้ว่าแร่ที่เรามีอยู่นั้นคือแร่อะไร จำเป็นจะต้องมีวิธีการจำแนกอย่างมีระบบ โดยวิธีที่เป็นสากล สำหรับผู้เริ่มต้นก็สามารถวิเคราะห์แร่เบื้องต้นได้อย่างง่ายดาย ด้วยสิบขั้นตอนต่อไปนี้ ก็สามารถทำให้คุณกลายเป็นผู้เชียวชาญในการจำแนกแร่ขั้นเทพได้เลยทีเดียว

Read more ›
3D Paper Models and Toys (Volcanoes)

3D Paper Models and Toys (Volcanoes)

เกิดอาการติดใจกับของเล่นสนุกปนสาระแบบนี้ เลยต้องจัดมาให้ท่านสมาชิกอีกอย่างต่อเนื่อง แต่ต้องขอทยอยเอาลงให้เป็นหมวดๆ ไปละกันนะครับ ประเดิมด้วยโมเดลภูเขาไฟเลยละกัน

Read more ›
Paper models for geology mapwork

Paper models for geology mapwork

โมเดลกระดาษนี้มีประโยชน์อย่างมากในการช่วยให้เกิดความเข้าใจโครงสร้างทางธรณีวิทยามากขึ้น เหมาะสำหรับผู้ที่เรียนวิชาแผนที่ธรณีวิทยา หรือ Structural Geology หรือวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับรอยเลื่อนหรือแผนที่ ซึ่งสามารถสร้างเองได้อย่างง่ายดาย แบบชิวๆ

Read more ›

พิพิธภัณฑ์สิริธร

เมื่อมีโอกาสได้ไปเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ธรรมชาติและพิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์ในหลาย ๆ ที่ในภูมิภาคยุโรป เห็นมุมมองใหม่ ๆ ที่แตกต่างและหลากหลาย  ทำให้กลับไปนึกถึงบ้านเรา ว่า เอ้..เมืองไทยมีที่ไหนให้เราได้ไปเยี่ยมชมซากดึกดำบรรพ์ โดยเฉพาะไดโนเสาร์ ซึ่งเป็นพระเอกตลอดกาลของเด็ก ๆ บ้าง เมื่อตอนเป็นเด็ก ก็เคยได้ยิน ได้ฟังมาบ้าง บางแห่งก็เคยไปมาแล้ว…ว่าแต่ ผ่านมาหลายปีมันเปลี่ยนแปลงอะไรไปบ้างรึเปล่า  แล้วหน่วยงานของไทยมีการโปรโมท กันมากน้อยเพียงใด ก็เลยท่องเน็ทไปเรื่อย ๆ ถามเพื่อนบ้าง เลยไปเจอเวบไซท์ของพิพิธภัณฑ์สิรินธร ซึ่งตั้งอยู่ที่ อ.สหัสขันธ์ จ.กาฬสินธุ์ เดิมพิพิธภัณฑ์แห่งนี้ ก็คือพิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์ภูกุ้มข้าว ที่เราเคยรู้จักในอดีต แต่ได้มีการปรับปรุงและสร้างอาคารพิพิธภัณฑ์ขึ้นมาใหม่ รวมทั้งห้องจัดแสดงนิทรรศการที่อลังการกว่าเดิมหลายเท่า ได้ข่าวว่าจะมีพิธีเปิดอย่างเป็นทางการในเดือนธันวาคมนี้ ใครต้องการไปเยี่ยมชม (ค่าเข้าฟรี) เข้าไปดูรายละเอียด ติดต่อสอบถามถามลิงค์ด้านล่างนี้ได้เลยนะคะ  https://www.facebook.com/sirindhorn.museum นอกจากข่าวสารในเวบไซต์ของกรมทรัพยากรธรณีฯ แล้วยังมีอีกเวบไซต์นึงที่น่าสนใจ เกี่ยวกับทางด้านบรรพชีวินวิทยาทั้งไทยและเทศ เป็นเวบไซต์ของศูนย์วิจัยทางบรรพชีวินวิทยา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คลิกได้ที่นี่เลยค่ะ     http://www.prc.msu.ac.th/new_prc/ งานทางด้านบรรพชิวินวิทยา คนอาจจะไม่เห็นความสำคัญ เนื่องจากคนคิดว่าเป็นเรื่องไกลตัว ไม่เกี่ยวกับความเสียหายของบ้านเรือน หรือทรัพย์สิน และแม้ซากสัตว์ที่ตายมาเมื่อหลายล้านปีก่อนไม่ใช่ทรัพยากรที่สามารถลงทุนและได้ผลกำไรราคาแพงเช่นปิโตรเลียม  อย่างไรก็ตาม บรรพชิวินวิทยาก็เป็นธรณีวิทยาแขนงหนึ่งที่น่าสนใจ ซากดึกดำบรรพ์เป็นทรัพยากรสำคัญทำให้พวกเราได้เรียนรู้ถึงความเป็นมาของสิ่งมีชิวิตและวิวัฒนาการ และทำให้เรารู้ว่าโลกในอดีตมันต่างจากดาวเคราะห์สีฟ้าที่เราดำรงชีวิตอยู่ทุกวันนี้อยากสิ้นเชิง  

Read more ›
[คู่มือ] ดินถล่มจาก USGS

[คู่มือ] ดินถล่มจาก USGS

หนังสือคู่มือเกี่ยวกับดินถล่ม (ภาษาอังกฤษ)  เป็นหนังสือที่ให้ความรู้เกี่ยวกับธรณีพิบัติภัยดินถล่มทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นความหมาย การเกิด ชนิดการถล่ม และผลกระทบที่เกิดขึ้น อีกทั้งยังได้ให้คำแนะนำสำหรับการเตรียมตัวและป้องกันภัยอีกด้วย หนังสือคู่มือนี้เหมาะสำหรับประชาชนทั่วไปที่สนใจ

Read more ›
[แผนที่] ภาพถ่ายดาวเทียมจาก GeoEye

[แผนที่] ภาพถ่ายดาวเทียมจาก GeoEye

  GeoEye  เป็นดาวเทียมที่ถูกส่งขึ้นไปเมือเดือนกันยายนที่ผ่านมา เพื่อทำหน้าที่ในการเก็บภาพถ่ายของโลก ด้วยความละเอียดภาพระดับสูง หลายๆ ภาพที่ถ่ายได้จาก GeoEye  ได้ถูกใช้ใน  Google Earth, Google Maps  และโปรแกรมอื่นๆ อีกมากมาย  ซึ่งล่าสุดได้ถ่ายภาพเรือบรรทุกน้ำมันที่ถูกปล้นสะดม นอกชายฝั่งซามาลี คุณสามารถเข้าชมแกลลอรี่อื่นๆ ที่น่าสนใจได้จากเว็บไซต์  www.geoeye.com  

Read more ›
[แผนที่] รวมข้อมูลทั่วโลก

[แผนที่] รวมข้อมูลทั่วโลก

Worldmapper.org เป็นเว็บไซต์่ที่รวบรวมแผนที่ข้อมูลต่างๆ ครอบคลุมทั้งโลก กว่า 600 แผนที่ อาทิเช่น แผนที่ข้อมูลประชากร แผนที่ทองคำ แผนที่นำ้มัน เป็นต้น ซึ่งสามารถเลือกชมได้ตามหัวข้อที่สนใจ และยังสามารถดาวน์โหลดเป็นโปสเตอร์ (PDF) ได้ฟรีอีกด้วย ด้วยคอนเซ็ป “โลกในแบบที่คุณไม่เคยเห็นมาก่อน”

Read more ›
[เกม] ทดสอบความพร้อมก่อนแผ่นดินไหว

[เกม] ทดสอบความพร้อมก่อนแผ่นดินไหว

มาเตรียมบ้านคุณให้พร้อมก่อนแผ่นดินไหว กับเกมทดสอบความพร้อม โดยคุณต้องรีบจัดการให้ไวที่สุด เพราะไม่รู้ว่าแผ่นดินไหวมันจะเกิดขึ้นเมื่อไหร่!!

Read more ›
การสอนธรณีวิทยาด้วย Google Earth

การสอนธรณีวิทยาด้วย Google Earth

เว็บไซต์ On the Cutting Edge ซึ่งเป็นเว็บไซต์เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการสอนธรณีวิทยา ได้นำเสนอรูปแบบการสอนการแปลความหมายแผนที่ธรณีวิทยาโดยใช้โปรแกรม Google Earth ซึ่งช่วยให้ผู้ศึกษาเกิดความเข้าใจในการทำแผนที่และการแปลความหมายจากภาพมุมมองหลายมิติ และง่ายต่อการจดจำ โปรแกรมแผนที่ดิจิตอล Google Earth เป็นสือการสอนที่ดีอย่างมากในการสอน เพราะเป็นโปรแกรมที่ใช้งานได้ฟรี ให้ข้อมูลครอบคลุมทั่วโลก และสามารถดูแบบสามมิติได้อย่างง่ายดาย

Read more ›

The Geoblogosphere – รวม Geoblog สำหรับชาวธรณี

The following list of 102 geoblogs is certainly not complete. If you find a new blog or possible mistakes in the list, please post a comment. General About Geology by Andrew Alden – diverse geoscientific news and information Earth Learning Idea – every week a new geodidactic idea The Accretionary Wedge – Blog collecting the results of geoblog carnivals EffJot by Florian Jenn (partly in German) […]

Read more ›