Category: บทความแนะนำ

รูปที่ 22 ภาพอุโมงค์ยักษ์ระบายน้ำแห่งแรกของกรุงเทพมหานครซึ่งก่อสร้างเสร็จเรียบร้อยตามแผน

“เบื้องหลัง” การเจาะอุโมงค์ระบายน้ำโครงการผันน้ำคลองเปรมประชากร

“เธอเจาะได้ ฉันเจาะด้วย” คือชื่อบทความที่ท่านกำลังอ่านอยู่นี้ คำว่า “เธอเจาะได้” นั้นหมายถึง การเจาะอุโมงค์ของโครงการรถไฟฟ้าสายสีน้ำเงิน (สายเฉลิมรัชมงคล) รถไฟฟ้าใต้ดินสายแรกของประเทศไทย ส่วน“ฉันเจาะด้วย” ที่จะเล่า “เบื้องหลัง” นั้น เป็นการเจาะอุโมงค์ของโครงการผันน้ำคลองเปรมประชากร ซึ่งเป็นโครงการสร้างระบบผันน้ำผ่านอุโมงค์ยักษ์แห่งแรกของกรุงเทพมหานคร ในสมัยของท่านผู้ว่าฯ ดร.พิจิตต รัตตกุล ตามแนว (ใต้) ถนนประชาราษฎร์สาย 2 ทั้งนี้อุโมงค์ของทั้งสองโครงการนี้เริ่มเจาะในเวลาไล่เลี่ยกัน และด้วยวิธีการที่เหมือนกัน เพียงต่างกันที่ขนาดของหัวเจาะหรืออุโมงค์เท่านั้น

Read more ›
การเจาะอุโมงค์และบทบาทของนักธรณีวิทยา อธิบายโดย ดร.เดชา หลวงพิทักษ์ชุมพล

การเจาะอุโมงค์และบทบาทของนักธรณีวิทยา อธิบายโดย ดร.เดชา หลวงพิทักษ์ชุมพล

“ทำไมนักธรณีต้องไปอยู่ในอุโมงค์” คำถามนี้อาจจะฟังดูแปลกในหมู่นักธรณีวิทยา เพราะเรารู้กันดีว่าการเจาะอุโมงค์ผ่านชั้นหินต้องใช้ความรู้ทางธรณีวิทยา จึงมีนักธรณีวิทยาเดินเข้าออกอุโมงค์ทุกวัน แต่งานที่มีความเสี่ยงแบบนี้ เราไม่ส่งนักธรณีเข้าไปได้หรือไม่ เพื่อหาคำตอบ ผมจึงได้ติดต่อ ดร.เดชา หลวงพิทักษ์ชุมพล ผู้เชี่ยวชาญด้านธรณีวิศวกรรม และขอความรู้เกี่ยวกับขั้นตอนการก่อสร้างอุโมงค์รวมถึงหน้าที่ของนักธรณีวิทยาในอุโมงค์ 

Read more ›
รอยเลื่อนและแผ่นดินไหว จ.เชียงราย 2557

รอยเลื่อนและแผ่นดินไหว จ.เชียงราย 2557

บันทึกการสำรวจรอยเลื่อนมีพลังและความเสียหายจากเหตุการณ์แผ่นดินไหวขนาด 6.3 ในพื้นที่ จ.เชียงราย เนื้อหาประกอบด้วยข้อมูลเกี่ยวกับกลุ่มรอยเลื่อนพะเยา การสังเกตรอยเลื่อนจากภูมิประเทศ และตัวอย่างความเสียหายที่พบจากการสำรวจพื้นที่ประสบภัย นำเสนอในมุมมองของนักธรณีวิทยา

Read more ›
ธรณีวิทยาไทยอยู่ตรงไหน?

ธรณีวิทยาไทยอยู่ตรงไหน?

ความรู้ใหม่ๆ ทางธรณีวิทยาได้จากการสำรวจที่ยากขึ้น ด้วยเครื่องมือที่ทันสมัยขึ้น และมีการใช้ความคิดมากขึ้น นักธรณีวิทยารุ่นใหม่ที่จะเข้าไปสำรวจทั้งในและต่างประเทศ จะต้องมีความพร้อมทุกด้าน ทั้งความรู้ ร่างกาย และการสื่อสาร บทความนี้จะพูดถึงสถานะภาพปัจจุบันของนักธรณีวิทยาไทยเทียบกับต่างชาติ และความจำเป็นของการศึกษาต่อ เพื่อพัฒนาคุณภาพนักธรณีวิทยาไทย

Read more ›
คำถาม-คำตอบสามวินาที แฟนพันธุ์แท้แห่งปี 2013

คำถาม-คำตอบสามวินาที แฟนพันธุ์แท้แห่งปี 2013

ในหมวดสามวินาทีมีทั้งหมด 25 ข้อ แบ่งออกเป็น 3 ส่วนด้วยกันคือ ข้อ 1-10 รูปภาพ ข้อ 11-20 คุณสมบัติ ข้อ 21-25 ผู้ค้นพบสัตว์ดึกดำบรรพ์เป็นคนแรก และนี่คือ คำถาม-คำตอบของหมวดสามวินาที รายการแฟนพันธุ์แท้แห่งปี 2013 ออกอากาศ ณ วันที่ 24 มกราคม 2557

Read more ›
รอยเลื่อนมีพลังในประเทศไทย

รอยเลื่อนมีพลังในประเทศไทย

หนึ่งในหกของประชากรไทยอาศัยอยู่ใกล้กับรอยเลื่อนมีพลัง การขยับตัวของรอยเลื่อนมีพลังทำให้เกิดแผ่นดินไหว แม้ว่าโอกาสเกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ในประเทศไทยจะมีน้อยมาก แต่ถ้าไม่มีการเตรียมพร้อม แผ่นดินไหวขนาดเล็กก็อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินได้ บทความนี้ให้ความรู้เกี่ยวกับรอยเลื่อน และรวมแหล่งข้อมูลเกี่ยวกับแผ่นดินไหวในประเทศไทย

Read more ›
ทำไมเพลสิโอซอร์จึงไม่จัดว่าเป็นไดโนเสาร์

ทำไมเพลสิโอซอร์จึงไม่จัดว่าเป็นไดโนเสาร์

ฟุตาบะซอรัส ดึกดำบรรพ์ที่ปรากฏตัวในภาพยนตร์แอนิเมชันการ์ตูน โดราเอมอน ตอน “ไดโนเสาร์ของโนบิตะ” ฉายในปีพ.ศ. 2549 ความจริงแล้วไม่จัดว่าเป็นไดโนเสาร์ แต่ถือเป็นหนึ่งในสัตว์เลื้อยคลานทางทะเลในกลุ่มเพลสิโอซอร์ (plesiosaur) ซึ่งอาศัยอยู่ร่วมยุคกับไดโนเสาร์ ทำไมถึงเป็นเช่นนั้น?

Read more ›
แฟนพันธุ์แท้แห่งปีกับความเร็ว

แฟนพันธุ์แท้แห่งปีกับความเร็ว

ในการแข่งขันรายการแฟนพันธุ์แท้แห่งปีนั้น มีเกมส์หนึ่งซึ่งเป็นเกมส์เพื่อใช้วัดไหวพริบและสมาธิของผู้เข้าแข่งขัน นั่นก็คือ หมวดแฟนพันธุ์แท้กับความเร็ว โดยผู้เข้าแข่งจะต้องตอบคำถามนั้นภายในเวลาสามวินาที หากเป็นการแข่งขันในรอบสัปดาห์แล้วจะสามารถตอบกี่ครั้งก็ได้ภายในเวลาสามวินาที แต่ถ้าหากเป็นการแข่งขันแฟนพันธุ์แท้แห่งปีมีทั้งหมด 25 ข้อ จะต้องตอบให้ถูกต้องเท่านั้นในเวลาสามวินาที สามารถเลือกที่จะข้ามคำถามได้

Read more ›
พระพุทธรูปแกะสลักเขาชีจรรย์ – บทส่งท้าย

พระพุทธรูปแกะสลักเขาชีจรรย์ – บทส่งท้าย

ความรู้และประวัติโครงการก่อสร้างพระพุทธรูปแกะสลักหน้าผาเขาชีจรรย์ “พระพุทธมหาวชิรอุตตโมภาสศาสดา” อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี บันทึกโดย ดร.เดชา หลวงพิทักษ์ชุมพล ผู้อำนวยการโครงการฯ

Read more ›
ภาพสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร  องค์ประธานคณะกรรมการอำนวยการเสด็จตรวจงานสถานีเลเซ่อร์ บริเวณหน้าผาเขาชีจรรย์
(จากซ้าย: อาจารย์กนก บุญโพธิ์แก้ว-ตอนต่อๆไปคงจะได้เห็นหน้าชัดๆ- ดร.พงศ์พันธ์ จินดาอุดม  คุณอุดม ภู่งามและผู้เขียน)

พระพุทธรูปแกะสลักเขาชีจรรย์ – ขอบใจ

ความรู้และประวัติโครงการก่อสร้างพระพุทธรูปแกะสลักหน้าผาเขาชีจรรย์ “พระพุทธมหาวชิรอุตตโมภาสศาสดา” อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี บันทึกโดย ดร.เดชา หลวงพิทักษ์ชุมพล ผู้อำนวยการโครงการฯ

Read more ›