Category: แนะแนวการศึกษา

ธรณีวิทยาไทยอยู่ตรงไหน?

ธรณีวิทยาไทยอยู่ตรงไหน?

ความรู้ใหม่ๆ ทางธรณีวิทยาได้จากการสำรวจที่ยากขึ้น ด้วยเครื่องมือที่ทันสมัยขึ้น และมีการใช้ความคิดมากขึ้น นักธรณีวิทยารุ่นใหม่ที่จะเข้าไปสำรวจทั้งในและต่างประเทศ จะต้องมีความพร้อมทุกด้าน ทั้งความรู้ ร่างกาย และการสื่อสาร บทความนี้จะพูดถึงสถานะภาพปัจจุบันของนักธรณีวิทยาไทยเทียบกับต่างชาติ และความจำเป็นของการศึกษาต่อ เพื่อพัฒนาคุณภาพนักธรณีวิทยาไทย

Read more ›
การนำเสนอผลงานทางธรณีวิทยา

การนำเสนอผลงานทางธรณีวิทยา

การบรรยายความรู้ทางธรณีวิทยาต้องอาศัยภาพประกอบ ความน่าสนใจของผลงานที่นำเสนอจึงขึ้นอยู่กับคุณภาพของภาพประกอบ เช่น แผนที่ กราฟ ตาราง รูปภาพ แม้ว่าผู้นำเสนอจะไม่ใช่เป็นคนที่พูดเก่ง แต่การทำสื่อนำเสนอที่ดีก็จะสามารถช่วยดึงดูดความน่าสนใจและสร้างความประทับใจให้กับผู้ชมได้ เนื้อหาต่อไปนี้เป็นแนวสำหรับการเตรียมสื่อเพื่อประกอบการบรรยาย รวบรวมจากประสบการณ์การเข้าร่วมงานประชุมสัมมนาทางธรณีวิทยาทั้งในและต่างประเทศ

Read more ›
นักวางแผนหลุมเจาะปิโตรเลียมหญิงไทย

นักวางแผนหลุมเจาะปิโตรเลียมหญิงไทย

สัมภาษณ์ อมรรัตน์ กาสิงห์ ศิษย์เก่าธรณีศาสตร์ รุ่นแรก ของมหาวิทยาลัยมหิดล กับการทำงานเป็นนักวางแผนหลุมเจาะปิโตรเลียม และประสบการณ์ชีวิตในประเทศอาเซอร์ไบจาน

Read more ›
Faces of Earth

สารคดีการสำรวจโลก Faces of Earth

การศึกษาโลกของนักธรณีวิทยามีหลายรูปแบบ บางคนต้องบินขึ้นที่สูง บางคนต้องขุดลงใต้ดิน บางคนต้องทดสอบในห้องปฏิบัติการ บางคนต้องเดินทางไกล เพื่อให้ได้มาซึ่งความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโลก สำหรับใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานเพื่อพัฒนาการดำรงชีวิตของมนุษย์ในอนาคต

Read more ›
ภาควิชาเทคโนโลยีธรณี คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ภาควิชาเทคโนโลยีธรณี ม.ขอนแก่น

วีดีทัศน์แนะนำ ภาควิชาเทคโนโลยีธรณี คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Read more ›
การศึกษาธรณีวิทยาในภาคสนาม

ทำไมเราต้องรู้ธรณีวิทยา?

ธรณีวิทยา คือองค์ความรู้เกี่ยวกับโลก หินเพียงหนึ่งก้อนสามารถให้ข้อสมมติฐานเกี่ยวกับเหตุการณ์ในอดีตที่เกิดขึ้นบนโลกตลอดช่วงเวลาหลายล้านปีได้ ความรู้จากหินหลายๆ ก้อนจะถูกนำมารวบรวมอย่างเป็นระบบ ซึ่งจะช่วยให้เข้าใจถึงกระบวนการทางธรรมชาติที่เราเห็นในปัจจุบัน การเรียนธรณีเป็นเรื่องที่สำคัญ และเป็นเรื่องพื้นฐานที่ทุกคนต้องรู้ ตราบเท่าที่เรายังต้องอาศัยอยู่บนโลกแห่งนี้ เราจะอยู่กันอย่างไรหากไม่มีใครรู้เรื่องธรณีวิทยาเลย

Read more ›
เยี่ยมชมภาควิชาธรณีวิทยา ในงานจุฬาฯวิชาการ 2555

เยี่ยมชมภาควิชาธรณีวิทยา ในงานจุฬาฯวิชาการ 2555

หลังจากที่มีการประชาสัมพันธ์การจัดงานจุฬาฯวิชาการ ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในระหว่างวันที่ 14-18 พฤศจิกายน ไปแล้วนั้น โดยเฉพาะในส่วนของภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จึงขอนำภาพบรรยากาศและความรู้สึกบางส่วน มาบอกเล่าเก้าสิบให้น้องๆฟัง

Read more ›
นิทรรศการธรณีวิทยา “จุฬาฯ วิชาการ” ๒๕๕๕

นิทรรศการธรณีวิทยา “จุฬาฯ วิชาการ” ๒๕๕๕

Read more ›
ธรณีวิทยาใน London 2012

ธรณีวิทยาใน London 2012

การแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 30 หรือ ลอนดอน 2012 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 27 ก.ค ถึง 12 ส.ค 2556 ที่กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร ความสำคัญของประเทศเจ้าภาพก็คือเป็นแหล่งต้นกำเนิดของแนวคิดทางธรณีวิทยา สถานที่สำคัญทางธรณีวิทยาหลายแห่งได้รับการโปรโมทระหว่างการวิ่งคบเพลิง นอกจากนี้เจ้าภาพก็ได้ศึกษาธรณีวิทยาของลอนดอนอย่างละเอียด เพื่อเตรียมจัดสถานที่แข่งขัน บทความนี้รวบรวมธรณีวิทยาที่ได้จากการแข่งขันโอลิมปิกลอนดอน 2012

Read more ›
นักธรณีวิทยาที่ออกสำรวจไกลที่สุด

นักธรณีวิทยาที่ออกสำรวจไกลที่สุด

นักธรณีวิทยาที่ออกภาคสนามไกลที่สุดได้เดินทางไปพร้อมกับทีมสำรวจดวงจันทร์อพอลโล่ 17 ซึ่งเป็นปฏิบัติการสุดท้ายของโครงการอพอลโล่ ด้วยระยะทางกว่าสามแสนแปดหมื่นสี่พันสี่ร้อยกิโลเมตรจากพื้นโลก เขาไปทำอะไรที่นั้น รับรองว่าการเดินทางของเขาครั้งนี้มีประโยชน์ต่อมวลมนุษยชาติแน่นอน

Read more ›