Category: ธรณีแปรสัณฐาน

ธรณีวิทยาอ่าวไทย

ธรณีวิทยาอ่าวไทย

อ่าวไทยเป็นส่วนในสุดของมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก เชื่อมต่อมาจากด้านตะวันตกของทะเลจีนใต้ มีลักษณะเป็นอ่าวกึ่งปิด ที่โอบล้อมด้วยชายฝั่งทะเลของคาบสมุทรมลายู และแผ่นดินของทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยมีช่องเปิดทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ระหว่างแนวเชื่อมต่อระหว่างปลายแหลมญวน ประเทศเวียดนาม และเมืองโกตาบารู ประเทศมาเลเซีย

Read more ›
เรียนรู้ธรณีวิทยาโครงสร้าง

เรียนรู้ธรณีวิทยาโครงสร้าง

โลกประกอบด้วยแผ่นเปลือกโลกหลายแผ่นที่มีการเคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลา การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลกทำให้เกิดการเปลี่ยนสภาพของหินที่ก่อให้เกิดโครงสร้างทางธรณีวิทยาที่สำคัญต่อการสำรวจทรัพยากรธรรมชาติ และการดำรงชีวิตของมนุษย์

Read more ›
ขุนเขาใหญ่เกิดอย่างไรใครรู้บ้าง..

ขุนเขาใหญ่เกิดอย่างไรใครรู้บ้าง..

หากพูดถึงภูเขาสูงในประเทศไทย หลายคนก็คงจะนึกออกว่ามีลักษณะเป็นอย่างไร ภูเขาสูงทั้งหลายนั้นมีความสำคัญต่อสิ่งมีชีวิตทุกชนิด รวมถึงมนุษย์อย่างเราด้วย แต่จะมีใครรู้บ้างไหมว่าภูเขาที่ทอดยาวต่อกันเป็นแนวเทือกเขานั้นเกิดขึ้นได้อย่างไร?

Read more ›
โครงสร้างภายในของโลก

โครงสร้างภายในของโลก

โครงสร้างภายในโลกสามารถแบ่งออกเป็นชั้นต่างๆ ตามลักษณะของวัสดุที่เป็นส่วนประกอบ แม้ว่าราจะไม่สามารถเข้าถึงแกนกลางโลกได้ แต่เราก็ยังสามารถรู้ถึงส่วนประกอบ โครงสร้าง และ กระบวนการที่เกิดขึ้นภายในโลกได้ สื่อการเรียนรู้ชุดนี้จะแสดงให้เห็นถึงวิธีการศึกษาโครงสร้างภายในของโลกของเรา

Read more ›
แผนที่ธรณีแปรสัณฐาน

แผนที่ธรณีแปรสัณฐาน

แผนที่ธรณีแปรสัณฐาน (This Dynamic Planet: World Map of Volcanoes, Earthquake, Impact Craters, and Plate Tectonics) ที่ได้รับความนิยมมากที่สุด ซึ่งให้ความรู้เกี่ยวกับภูเขาไฟ แผ่นดินไหว หลุมอุกกาบาต แผ่นเปลือกโลก เป็นอย่างดีและเข้าใจได้ง่าย (ภาษาอังกฤษ) พร้อมภาพประกอบสวยงาม จัดทำโดย USGS สามารถดาวน์โหลดได้ฟรี มีสองขนาดทั้งแบบโปสเตอร์ขนาดใหญ่ และขนาดเล็ก (.pdf) เหมาะสำหรับการเรียนการสอนของคุณครู และนักเรียนที่สนใจ ดังนั้นใครที่กำลังมองหาแผนที่ดีๆ แบบนี้ ไม่ควรพลาดเด็ดขาด รายละเอียดการดาวน์โหลดด้านใน!

Read more ›

รอบรู้ธรณีไทย 5 – ภูเขาและที่ราบสูง

  รอบรู้ธรณีไทย 5 – ภูเขาและที่ราบสูง Origin of Mountain & Highland – Mountain & Highland in Thailand  ภูเขาและที่ราบสูงเกิดจากหลายสาเหตุ ได้แก่ 1.เทือกเขาหิมาลัยเกิดจากการชนกันของแผ่นเ ปลือกโลก 2.หินหนืดดันเปลือกโลก 3.เปลือกโลกถูกบีบอัดจนโค้งงอ 4.บริเวณโดยรอบผุกร่อนเหลือส่วนที่แข็งกว่าเป็นที่สูง และพิจารณาที่มาและลักษณะของภูเขาและที่ราบสูงในภาคต่างๆ

Read more ›

[วิดีโอคลิป] The Early Earth and Plate Tectonics

The Earth is formed by accretion of spatial particulates and large masses and eventually formes an outer crust. Video follows with speculation of early plates and land masses and their movement through time.

Read more ›
การเปลี่ยนลักษณะ

การเปลี่ยนลักษณะ

สื่อการสอนนี้จำเป็นต้องใช้โปรแกรม Adobe® Flash PlayerTM ในการเข้าชม ถ้าหากคุณไม่มีโปรแกรมนี้หรือเวอร์ชั่นที่คุณใช้เป็นเวอร์ชั่นเก่า อาจไม่สามารถเข้าชมเนื้อหาและภาพเคลื่อนไหวได้   คุณสามารถดาวน์โหลดและลงโปรแกรม Flash Player เวอร์ชั่นล่าสุดได้ที่นี่ทันทีhttp://www.adobe.com/products/flashplayer/ ธรณีวิทยาคืออะไร? | โลกของเรา | แผ่นเปลือกโลก | หินและแร่ | การเปลี่ยนลักษณะ | เชื้อเพลิงธรรมชาติ | บทสรุป    

Read more ›
แผ่นเปลือกโลก

แผ่นเปลือกโลก

สื่อการสอนนี้จำเป็นต้องใช้โปรแกรม Adobe® Flash PlayerTM ในการเข้าชม ถ้าหากคุณไม่มีโปรแกรมนี้หรือเวอร์ชั่นที่คุณใช้เป็นเวอร์ชั่นเก่า อาจไม่สามารถเข้าชมเนื้อหาและภาพเคลื่อนไหวได้   คุณสามารถดาวน์โหลดและลงโปรแกรม Flash Player เวอร์ชั่นล่าสุดได้ที่นี่ทันทีhttp://www.adobe.com/products/flashplayer/ ธรณีวิทยาคืออะไร? | โลกของเรา | แผ่นเปลือกโลก | หินและแร่ | การเปลี่ยนลักษณะ | เชื้อเพลิงธรรมชาติ | บทสรุป  

Read more ›
ธรณีแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค (Plate Tectonics)

ธรณีแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค (Plate Tectonics)

เมื่อกว่าหลายทศวรรษที่ผ่านมา นักทำแผนที่ได้สังเกตเห็นว่าแผ่นทวีปต่างๆ บนโลกนั้นสามารถนำมาต่อกันได้ราวกับว่าครั้งหนึ่งแผ่นทวีปเหล่านี้เคยเป็นแผ่นเดียวกันมาก่อน จากการสังเกตครั้งนั้นร่วมกับการค้นพบซากดึกดำบรรพ์ชนิดเดียวกันบนชายฝั่งอเมริกาเหนือและแอฟริกาในเวลาต่อมา ทำให้นักวิทยาศาสตร์ในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ยี่สิบได้เสนอความคิดว่าแผ่นทวีปต่างๆ ที่เคยคิดว่าอยู่นิ่งนั้น แท้จริงแล้วได้มีการเคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลา แต่อย่างไรก็ตามในขณะนั้นยังไม่มีใครสามารถอธิบายถึงสาเหตุที่ทำให้แผ่นเปลือกโลกเคลื่อนที่ได้

Read more ›