Tag: สึนามิ

นักวิจัยสึนามิโบราณในประเทศไทย

นักวิจัยสึนามิโบราณในประเทศไทย

ดร.เครือวัลย์ จันทร์แก้ว นักธรณีวิทยาหญิง ผู้สำรวจและวิจัยสึนามิโบราณในประเทศไทย อดีตนักเรียนทุนพสวท.

Read more ›
แบบจำลองความสูงของคลื่นสึนามิจากแผ่นดินไหวญี่ปุ่น 2554 โดย NOAA

แผ่นดินไหวโทโฮะกุ ญี่ปุ่น 11 มี.ค. 2554

หลังเกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหวครั้งประวัติศาสตร์ในญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2554 ข้อมูลเกี่ยวกับแผ่นดินไหวได้ถูกเผยแพร่มากขึ้นในโลกอินเตอร์เน็ต โดยเฉพาะการอธิบายข้อมูลด้วยภาพกราฟิกรูปแบบต่างๆ (infographic) บทความนี้รวบรวมข้อมูล ภาพกราฟิก และการสัมภาษณ์เกี่ยวกับแผ่นดินไหวโทโฮะกุ ประเทศญี่ปุ่น

Read more ›
แผ่นดินไหวในมหาสมุทรอินเดีย

แผ่นดินไหวในมหาสมุทรอินเดีย

[อัพเดท] วันพุธที่ 2 มีนาคม พ.ศ.2559 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 7.8 ในมหาสมุทรอินเดีย (ตามภาพประกอบ) มีศูนย์กลางแผ่นดินไหวที่ความลึก 24 กิโลเมตร สันนิษฐานว่าเกิดจากรอยเลื่อนเฉือนตามแนวระดับลักษณะเช่นเดียวกับเหตุการณ์แผ่นดินไหวเมื่อวันที่ 11 เมษายน 2555 วันพุธที่ 11 เมษายน พ.ศ.2555 เกิดแผ่นดินไหวใหญ่สองครั้งขนาด 8.6 และ 8.2 โดยมีศูนย์กลางอยู่ในมหาสมุทรอินเดีย ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของเมืองบันดาอาเจะห์ประมาณ 430 กิโลเมตร แผ่นดินไหวครั้งนี้สามารถรับรู้ได้ในหลายพื้นที่ทางภาคใต้ของประเทศไทยและบนตึกสูงในกรุงเทพมหานคร ในช่วงแรกมีการประกาศเตือนภัยสึนามิ ก่อนที่จะยกเลิกในเวลาต่อมา

Read more ›
รวมเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่โลกจดจำ

รวมเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่โลกจดจำ

ทุกปีมีแผ่นดินไหวเกิดขึ้นหลายพันครั้งกระจายทั่วโลกตามแนวรอยเลื่อนที่ยังคงมีพลัง บางเหตุการณ์ได้สร้างความสูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สินอย่างมหาศาล การสั่นสะเทือนอย่างรุนแรงมักเป็นผลจากการขยับตัวของรอยเลื่อนขนาดใหญ่ที่อยู่ระหว่างแผ่นเปลือกโลก โดยเฉพาะพื้นที่รอบวงแหวนแห่งไฟ แผ่นดินไหวจะปลดปล่อยพลังงานออกมาในรูปของคลื่นไหวสะเทือนสู่พื้นดินอย่างรุนแรง ตัวอย่างเหตุการณ์ต่อไปนี้ คือสุดยอดแผ่นดินไหวที่สร้างความเสียหายที่สุดที่เคยบันทึกได้ในประวัติศาสตร์จนถึงปัจจุบัน

Read more ›

รอบรู้ธรณีไทย ตอนพิเศษ – สึนามิ

  รอบรู้ธรณีไทย ตอนแทรก – ความรู้และประมวลเหตุการณ์สึนามิในไทย What’s Tsunami ? and about Tsunami in Thailand 2004  สึนามิ แปลว่า คลื่นอ่าว มักเกิดจากแผ่นดินไหวใต้ทะเล บางครั้งเกิดจากมวลแผ่นดินถล่มขนาดใหญ่บริ เวณชายฝั่งก็ได้ แล้วเกิดการกระเพื่อมของมวลน้ำทะเล ร่วมกับปัจจัยด้านความลาดชันของไหล่ทวีปแล ะลักษณะของชายฝั่งทำให้ลูกคลื่นสูงยิ่งขึ้ น (เปรียบเทียบน้ำที่กระฉอกขอบถังจำนวนมากเม ื่อสั่นสะเทือนก้นถังด้วยการลากเพียงเล็กน ้อย) ข้อสังเกตก่อนเกิดสึนามิมักพบปรากฏการณ์ดึ งมวลน้ำ ระดับน้ำทะเลลดลงก่อนโถมกลับมาเป็นคลื่นลู กใหญ่ สึนามิเมื่อ 26 ธ.ค. 2547 เกิดจากศูนย์กลางแผ่นดินไหวเป็นรอยเลื่อนย าว ทิศเหนือนอกเกาะสุมาตรา ความรุนแรง 9.3 ริกเตอร์ นอกจากอินโดนีเซียและไทย คลื่นยังแผ่ขยายไปถึงชายฝั่งอินเดียและแอฟ ริกา ส่วนประเทศไทยได้รับผลกระทบ ได้แก่ จังหวัดระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ ตรัง และสตูล โดยสึนามิที่ เขาหลัก ลักษณะสันคลื่นไม่สูงแต่โถมเข้าลึกด้วยพลั งทำลายสูง ความเร็วคลื่น 35-40 กม./ชม. ใช้เวลาเข้าท่วมเพียง […]

Read more ›