Author: ทีมวิชาการธรณีไทย

เรื่องเล่าแผ่นดินไหวขนาด 7.8 ประเทศเนปาล

เรื่องเล่าแผ่นดินไหวขนาด 7.8 ประเทศเนปาล

ณัฐพล สุขใจ (บอม) นักธรณีวิทยาจากจังหวัดเชียงราย เดินทางไปท่องเที่ยวที่ประเทศเนปาล และพบกับเหตุการณ์แผ่นดินไหวครั้งใหญ่ แม้ว่าเขาจะเคยมีประสบการณ์จากเหตุแผ่นดินไหวที่เชียงรายมาแล้ว แต่แผ่นดินไหวที่เนปาลก็ทำให้บอมได้ประสบการณ์ใหม่ ซึ่งได้ถ่ายทอดให้ GeoThai.net ฟังดังนี้

Read more ›
พลังงานหยั่งลึก

พลังงานหยั่งลึกกับการสำรวจปิโตรเลียมในประเทศไทย

สื่อประชาสัมพันธ์ชุด พลังงานหยั่งลึก – อธิบายการสำรวจและผลิตปิโตรเลียมในประเทศไทย โดยกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กระทรวงพลังงาน

Read more ›
นักวางแผนหลุมเจาะปิโตรเลียมหญิงไทย

นักวางแผนหลุมเจาะปิโตรเลียมหญิงไทย

สัมภาษณ์ อมรรัตน์ กาสิงห์ ศิษย์เก่าธรณีศาสตร์ รุ่นแรก ของมหาวิทยาลัยมหิดล กับการทำงานเป็นนักวางแผนหลุมเจาะปิโตรเลียม และประสบการณ์ชีวิตในประเทศอาเซอร์ไบจาน

Read more ›
นักวิจัยสึนามิโบราณในประเทศไทย

นักวิจัยสึนามิโบราณในประเทศไทย

ดร.เครือวัลย์ จันทร์แก้ว นักธรณีวิทยาหญิง ผู้สำรวจและวิจัยสึนามิโบราณในประเทศไทย อดีตนักเรียนทุนพสวท.

Read more ›
ความพิศวงของหินเดินได้

ความพิศวงของหินเดินได้

ปรากฏการณ์หินเดินได้คือสิ่งที่น่าสนใจของอุทยานแห่งชาติเดท วัลลี่ย์ (Death Valley National Park) เนื่องจากมีหินหลายก้อนแสดงร่องรอยการเคลื่อนที่ ซึ่งบ่งบอกว่าก้อนหินเหล่านั้นไม่ได้อยู่นิ่ง หินบางก้อนหนักเป็นหลายร้อยกิโลกรัม ทำให้เกิดคำถามที่น่าคิดว่า “หินเคลื่อนที่ได้อย่างไร?“

Read more ›
ภาควิชาเทคโนโลยีธรณี คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ภาควิชาเทคโนโลยีธรณี ม.ขอนแก่น

วีดีทัศน์แนะนำ ภาควิชาเทคโนโลยีธรณี คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Read more ›
การศึกษาธรณีวิทยาในภาคสนาม

ทำไมเราต้องรู้ธรณีวิทยา?

ธรณีวิทยา คือองค์ความรู้เกี่ยวกับโลก หินเพียงหนึ่งก้อนสามารถให้ข้อสมมติฐานเกี่ยวกับเหตุการณ์ในอดีตที่เกิดขึ้นบนโลกตลอดช่วงเวลาหลายล้านปีได้ ความรู้จากหินหลายๆ ก้อนจะถูกนำมารวบรวมอย่างเป็นระบบ ซึ่งจะช่วยให้เข้าใจถึงกระบวนการทางธรรมชาติที่เราเห็นในปัจจุบัน การเรียนธรณีเป็นเรื่องที่สำคัญ และเป็นเรื่องพื้นฐานที่ทุกคนต้องรู้ ตราบเท่าที่เรายังต้องอาศัยอยู่บนโลกแห่งนี้ เราจะอยู่กันอย่างไรหากไม่มีใครรู้เรื่องธรณีวิทยาเลย

Read more ›
ดร.นิติ มั่นเข็มทอง

นิติ มั่นเข็มทอง นักธรณีฟิสิกส์

สวัสดีครับ ครั้งนี้เรามีเพื่อนที่น่าสนใจมาแนะนำกันอีกเช่นเคย น้องนิติเพิ่งได้รับรางวัลยอดเยี่ยมมาจากงาน 2008 Conference & Expo Reno, Nevada จะเป็นรางวัลอะไรนั้น เราลองมาฟังน้องนิติกัน

Read more ›
ภาพนักสำรวจและช่างภาพกำลังจัดแสงไฟในถ้ำคริสตัล ประเทศเม็กซิโก  (Photo by Oscar Necoechea / Speleoresearch & Film)

ถ้ำคริสตัลยักษ์ในเม็กซิโก

ผลึกแร่ธรรมชาติที่ใหญ่ที่สุดในโลกถูกค้นพบในถ้ำใต้ดิน ทางตอนเหนือของประเทศเม็กซิโก ประกอบไปด้วยผลึกแร่ยิปซัม มีลักษณะโปร่งใส เกิดขึ้นในสภาพแวดล้อมที่ท้าทายต่อนักสำรวจเป็นอย่างมาก สภาพแวดล้อมที่ไม่มีใครสามารถทนอยู่ได้นานเกินหนึ่งชั่วโมง

Read more ›
ศัพท์ธรณีวิทยาทั่วไป อักษร S – Z

ศัพท์ธรณีวิทยาทั่วไป อักษร S – Z

Saalian ช่วงซาเลียน : ดู Riss  sabkha; sebkha แซบคา ๑. สภาพแวดล้อมการตกตะกอนติดชายทะเล ซึ่งมักเกิดขึ้นในบริเวณที่แห้งแล้งหรือกึ่งแห้งแล้งในส่วนที่ติดกับชายฝั่งทะเล ส่วนที่เหนือเขตระดับน้ำทะเลขึ้นสูง ดังนั้น จึงอยู่ระหว่างเขตพื้นที่บนบกกับเขตน้ำทะเลขึ้น-ลง ลักษณะจำเพาะของแซบคาได้แก่ ชั้นเกลือและเกลือระเหย ตะกอนน้ำทะเลขึ้นถึง และตะกอนลมหอบ ปัจจุบันพบเห็นในบริเวณชายฝั่งทะเลเปอร์เซีย และแคลิฟอร์เนีย

Read more ›