Category: ธรณีพิบัติภัย

สรุปสุดยอดแผ่นดินไหวในปี 2552

สรุปสุดยอดแผ่นดินไหวในปี 2552

 USGS ได้ทำรายงานสรุปเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นในปี 2552 เผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ ซึ่งประกอบด้วยรายละเอียดของเหตุการณ์แต่ละครั้ง รวมถึงโปสเตอร์ และข่าวที่เกี่ยวข้อง โดยเป็นการสรุปเน้นเฉพาะเหตุการณ์ที่รุนแรงและทรงพลัง เช่น แผ่นดินไหวที่มลฑลเสฉวน เป็นต้น สังเกตดีๆ จะพบว่าตำแหน่งของการเกิดนั้นส่วนใหญ่จะอยู่ตามขอบแผ่นเปลือกโลก ที่น่ากลัวไปกว่านั้นก็คือ ประเทศไทยถูกล้อมด้วยตำแหน่งเหล่านั้น

Read more ›

รอบรู้ธรณีไทย ตอนพิเศษ – สึนามิ

  รอบรู้ธรณีไทย ตอนแทรก – ความรู้และประมวลเหตุการณ์สึนามิในไทย What’s Tsunami ? and about Tsunami in Thailand 2004  สึนามิ แปลว่า คลื่นอ่าว มักเกิดจากแผ่นดินไหวใต้ทะเล บางครั้งเกิดจากมวลแผ่นดินถล่มขนาดใหญ่บริ เวณชายฝั่งก็ได้ แล้วเกิดการกระเพื่อมของมวลน้ำทะเล ร่วมกับปัจจัยด้านความลาดชันของไหล่ทวีปแล ะลักษณะของชายฝั่งทำให้ลูกคลื่นสูงยิ่งขึ้ น (เปรียบเทียบน้ำที่กระฉอกขอบถังจำนวนมากเม ื่อสั่นสะเทือนก้นถังด้วยการลากเพียงเล็กน ้อย) ข้อสังเกตก่อนเกิดสึนามิมักพบปรากฏการณ์ดึ งมวลน้ำ ระดับน้ำทะเลลดลงก่อนโถมกลับมาเป็นคลื่นลู กใหญ่ สึนามิเมื่อ 26 ธ.ค. 2547 เกิดจากศูนย์กลางแผ่นดินไหวเป็นรอยเลื่อนย าว ทิศเหนือนอกเกาะสุมาตรา ความรุนแรง 9.3 ริกเตอร์ นอกจากอินโดนีเซียและไทย คลื่นยังแผ่ขยายไปถึงชายฝั่งอินเดียและแอฟ ริกา ส่วนประเทศไทยได้รับผลกระทบ ได้แก่ จังหวัดระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ ตรัง และสตูล โดยสึนามิที่ เขาหลัก ลักษณะสันคลื่นไม่สูงแต่โถมเข้าลึกด้วยพลั งทำลายสูง ความเร็วคลื่น 35-40 กม./ชม. ใช้เวลาเข้าท่วมเพียง […]

Read more ›

รอบรู้ธรณีไทย 10 – ธรณีพิบัติภัย

  รอบรู้ธรณีไทย 10 – ธรณีพิบัติภัย Geological Disaster  ภัยธรรมชาติทางธรณีวิทยาในประเทศไทยถือว่า พบน้อยกว่าส่วนอื่นของโลก ได้แก่  1.ดินถล่ม (โคลนถล่ม) เกิดจากฝนตกหนักน้ำไหลบ่าบนที่สูงชัน  2.แม่น้ำกัดเซาะตลิ่งพัง และหลุมยุบ เกิดตามธรรมชาติแต่กิจกรรมของมนุษย์เป็นตั วเร่ง เช่น การสูบทราย การสูบน้ำบาดาล  3. แผ่นดินไหว และสึนามิ ประเทศไทยไม่ใช่แนวแผ่นดินไหวแต่ก็มีพื้นท ี่เสี่ยงภัย ภาคตะวันตกและชายฝั่งอันดามัน ควรสังเกตปรากฏการณ์ดึงมวลน้ำซึ่งเป็นสัญญ าณก่อนเกิดสึนามิ   ต้นฉบับ: รอบรู้ธรณีไทย  ผลิต: สำนักธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี (Thailand’s Department of Mineral Resources) http://www.dmr.go.th

Read more ›
[คู่มือ] ดินถล่มจาก USGS

[คู่มือ] ดินถล่มจาก USGS

หนังสือคู่มือเกี่ยวกับดินถล่ม (ภาษาอังกฤษ)  เป็นหนังสือที่ให้ความรู้เกี่ยวกับธรณีพิบัติภัยดินถล่มทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นความหมาย การเกิด ชนิดการถล่ม และผลกระทบที่เกิดขึ้น อีกทั้งยังได้ให้คำแนะนำสำหรับการเตรียมตัวและป้องกันภัยอีกด้วย หนังสือคู่มือนี้เหมาะสำหรับประชาชนทั่วไปที่สนใจ

Read more ›
[เกม] ทดสอบความพร้อมก่อนแผ่นดินไหว

[เกม] ทดสอบความพร้อมก่อนแผ่นดินไหว

มาเตรียมบ้านคุณให้พร้อมก่อนแผ่นดินไหว กับเกมทดสอบความพร้อม โดยคุณต้องรีบจัดการให้ไวที่สุด เพราะไม่รู้ว่าแผ่นดินไหวมันจะเกิดขึ้นเมื่อไหร่!!

Read more ›
แผ่นดินไหวเสฉวน ประเทศจีน

แผ่นดินไหวเสฉวน ประเทศจีน

เมื่อวันจันทร์ที่ 12 พฤษภาคม 2551 เวลา 13.28 น. เกิดแผ่นดินไหว 7.9 ริกเตอร์ (สถาบันธรณีวิทยาของสหรัฐอเมริกา)   ทางตะวันออกของมณฑลเสฉวน ประเทศจีน ศูนย์กลางอยู่ที่ความลึก 19 กิโลเมตรจากผิวดิน และมี Aftershock 5.0-6.0 ริกเตอร์ ตามมาอีก 16 ครั้ง จนถึงวันอังคารที่ 13 พฤษภาคม 2551 เวลา 06.54 น. มีผู้เสียชีวิตประมาณเกือบ 20,000 คน

Read more ›
ดินถล่ม

ดินถล่ม

ดินถล่มคืออะไร? ดินถล่มหรือโคลนถล่ม คือ การเคลื่อนที่ของมวลดินและหินลงมาตามลาดเขาด้วยอิทธิพลของแรงโน้มถ่วงโลก และจะมีน้ำเข้ามาเกี่ยวข้องในการ ทำให้มวลดินและหินเคลื่อนตัวด้วยเสมอ ดินถล่มมักเกิดตามมาหลังจากน้ำป่าไหลหลาก ในขณะที่เกิดพายุฝนตกหนักรุนแรงต่อเนื่อง หรือหลังการเกิดแผ่นดินไหว

Read more ›
แผ่นดินไหวขนาด 8.0 นอกชายฝั่งประเทศเปรู

แผ่นดินไหวขนาด 8.0 นอกชายฝั่งประเทศเปรู

เมื่อเวลา 18.40 น. ตามเวลาท้องถิ่น ของวันพุธที่ 15 สิงหาคม 2550 (6.40 น. ของวันพฤหัสบดี ตามเวลาในประเทศไทย) ได้เกิดแผ่นดินไหวขนาด 8.0 ขึ้นบริเวณนอกชายฝั่งประเทศเปรู มีจุดศูนย์กลางลึกลงไปใต้พื้นดิน 30.2 กิโลเมตร และอยู่ห่างจากกรุงลิมาไปทางตอนใต้และตะวันออกเฉียงใต้ประมาณ 150 กิโลเมตร ตามรายงานของ USGS ยอดผู้เสียชีวิตจากเหตุแผ่นดินไหวครั้งนี้พุ่งสูงถึง 519 ราย ขณะที่มียอดผู้บาดเจ็บอยู่ที่ 1,366 คน

Read more ›
แผ่นดินไหวเชียงใหม่ 19 มิถุนายน 2550

แผ่นดินไหวเชียงใหม่ 19 มิถุนายน 2550

เมื่อวันที่ 19 มิถุนายน 2550 เวลาประมาณ 12.06 น.ได้เกิดแผ่นดินไหวที่รู้สึกได้ขนาด 4.5 ตามมาตราริกเตอร์ที่จังหวัดเชียงใหม่ มีจุดศูนย์กลางแผ่นดินไหวอยู่ที่อ.แม่ริม โดยมีการเกิดสัมพันธ์กับระบบรอยเลื่อนแม่ริม (Mae Rim fault system): ชื่ออย่างไม่เป็นทางการ ซึ่งเป็นกลุ่มรอยเลื่อนที่วางตัวอยู่ในแนวเกือบเหนือ-ใต้ (แนวเส้นสีเหลือง ดังภาพ) มีลักษณะเป็นแนวยาวทางเหนือตั้งแต่เขตอ.เชียงดาว อ.แม่แตง และเริ่มมุดตัวลงใต้ชั้นตะกอนอายุอ่อนของแอ่งเชียงใหม่ในเขตอ.แม่ริม อ.เมือง ไปทางใต้จนถึงจ.ลำพูน ทำให้ไม่สามารถสังเกตเห็นแนวรอยเลื่อนได้บนพื้นดิน

Read more ›
แผ่นดินไหวลาว 16 พฤษภาคม 2550

แผ่นดินไหวลาว 16 พฤษภาคม 2550

แผ่นดินไหวขนาด 6.1 เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2550 มีศูนย์กลางแผ่นดินไหวอยู่ทางตอนเหนือของประเทศลาว แผ่นดินไหวครั้งนี้รู้สึกได้ในภาคเหนือของประเทศไทยและที่กรุงเทพมหานคร

Read more ›