Category: สำรวจโลก

ประตูสู่นรก ประเทศเติร์กเมนิสถาน (credit: ryan_roxx via flickr.com)

ประตูสู่นรก The Door to Hell

ประตูสู่นรก หรือ The Door to Hell เป็นหลุมที่ยุบตัวเนื่องจากโพรงหินปูนใต้ดิน ใกล้เมือง Derweze ประเทศเติร์กเมนิสถาน เกิดขึ้นโดยบังเอิญขณะที่มีการเจาะสำรวจก๊าซธรรมชาติ เมื่อปีพ.ศ. 2514 โดยใต้พื้นดินแถบนี้เต็มไปด้วยหินปูนที่มีรอยแยกรอยแตกและโพรงใต้ดิน รวมกันแล้วถือว่าเป็นแหล่งสะสมตัวของก๊าซธรรมชาติแหล่งใหญ่แห่งหนึ่งของโลก

Read more ›
น้ำตกวิกตอเรีย Victoria Falls

น้ำตกวิกตอเรีย Victoria Falls

น้ำตกวิกตอเรีย ตั้งอยู่บริเวณรอยต่อของประเทศแซมเบีย และ ประเทศซิมบับเว น้ำตกวิกตอเรียเกิดจากแม่น้ำซัมเบซีซึ่งเป็นแม่น้ำกั้นพรมแดนของสองประเทศ ตกลงมาสู่แอ่งลึก น้ำตกมีขนาดกว้างกว่า 1,708 เมตร สูงสุดประมาณ 108 เมตร

Read more ›
ภาพแก้วที่กำลังแตกกระจาย เรารู้ได้อย่างไรว่าภาพก่อนหน้านี้และภาพต่อจากนี้จะเป็นอย่างไร?

ธรณีวิทยาที่(ไม่)หยุดนิ่ง

ภาพแก้วที่กำลังแตกกระจาย เรารู้ได้อย่างไรว่าภาพก่อนหน้านี้และภาพต่อจากนี้จะเป็นอย่างไร?

Read more ›
ภาพนักสำรวจและช่างภาพกำลังจัดแสงไฟในถ้ำคริสตัล ประเทศเม็กซิโก  (Photo by Oscar Necoechea / Speleoresearch & Film)

ถ้ำคริสตัลยักษ์ในเม็กซิโก

ผลึกแร่ธรรมชาติที่ใหญ่ที่สุดในโลกถูกค้นพบในถ้ำใต้ดิน ทางตอนเหนือของประเทศเม็กซิโก ประกอบไปด้วยผลึกแร่ยิปซัม มีลักษณะโปร่งใส เกิดขึ้นในสภาพแวดล้อมที่ท้าทายต่อนักสำรวจเป็นอย่างมาก สภาพแวดล้อมที่ไม่มีใครสามารถทนอยู่ได้นานเกินหนึ่งชั่วโมง

Read more ›
ธรณีวิทยาอ่าวไทย

ธรณีวิทยาอ่าวไทย

อ่าวไทยเป็นส่วนในสุดของมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก เชื่อมต่อมาจากด้านตะวันตกของทะเลจีนใต้ มีลักษณะเป็นอ่าวกึ่งปิด ที่โอบล้อมด้วยชายฝั่งทะเลของคาบสมุทรมลายู และแผ่นดินของทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยมีช่องเปิดทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ระหว่างแนวเชื่อมต่อระหว่างปลายแหลมญวน ประเทศเวียดนาม และเมืองโกตาบารู ประเทศมาเลเซีย

Read more ›
หมุดทองระบุตำแหน่งชุดหินอ้างอิง (GSSP) ของยุคเอเดียคาเรน (Ediacaran Period) ในประเทศออสเตรเลีย รอยวงกลมบนหินคือตำแหน่งที่เก็บตัวอย่างหินสำหรับการศึกษาการเปลี่ยนแปลงสนามแม่เหล็กโลก

ธรณีกาล ตารางเวลาของโลก

การลำดับช่วงเวลาของโลกตั้งแต่เกิดจนถึงปัจจุบัน เรียกว่า ธรณีกาล แบ่งเป็น บรมยุค (Eon) มหายุค (Era) ยุค (Period) และสมัย (Epoch) หินทุกชนิดที่พบบนโลกจะถูกจัดลำดับแก่อ่อนตามอายุที่วิเคราะห์ได้ อายุของหินเหล่านี้จะถูกนำมาจัดทำเป็นตารางธรณีกาล (Chronostratigraphic Chart) สำหรับการศึกษาทางธรณีวิทยาทุกแขนงทั่วโลก

Read more ›
รางวัลโนเบลสาขาธรณีวิทยา?

รางวัลโนเบลสาขาธรณีวิทยา?

และแล้วก็ถึงฤดูกาลของการประกาศผลรางวัลโนเบลอีกครั้ง เหรียญรางวัลที่มีการมอบให้กับผู้สร้างประโยชน์ให้กับมนุษย์โลก และเป็นรางวัลที่นักวิทยาศาสตร์หลายคนใฝ่ฝัน ซึ่งเราก็เคยได้ยินชื่อรางวัลนี้มาตั้งแต่เด็ก และก็คิดว่านักวิทยาศาสตร์ทุกแขนงก็มีโอกาศได้รางวัลนี้เช่นกัน

Read more ›
[Sponsored Video] : Earth 2050 พลังงานในโลกอนาคต

[Sponsored Video] : Earth 2050 พลังงานในโลกอนาคต

คาดการณ์ว่าในอีก 40 ปีข้างหน้า หรือในปีพ.ศ.2595 จะมีประชากรอาศัยอยู่บนโลกมากถึง 9,000 ล้านคน การเพิ่มขึ้นของประชากรโลกส่งผลให้ความต้องการด้านพลังงานมีสูงขึ้น สารคดี Earth 2050: The Future of Energy โดยบริษัท Shell จะพาท่านไปชมโลกอนาคต และความท้าทายในการแสวงหาพลังงาน เพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์ในทุกรูปแบบ

Read more ›
ธรณีวิทยาใน London 2012

ธรณีวิทยาใน London 2012

การแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 30 หรือ ลอนดอน 2012 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 27 ก.ค ถึง 12 ส.ค 2556 ที่กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร ความสำคัญของประเทศเจ้าภาพก็คือเป็นแหล่งต้นกำเนิดของแนวคิดทางธรณีวิทยา สถานที่สำคัญทางธรณีวิทยาหลายแห่งได้รับการโปรโมทระหว่างการวิ่งคบเพลิง นอกจากนี้เจ้าภาพก็ได้ศึกษาธรณีวิทยาของลอนดอนอย่างละเอียด เพื่อเตรียมจัดสถานที่แข่งขัน บทความนี้รวบรวมธรณีวิทยาที่ได้จากการแข่งขันโอลิมปิกลอนดอน 2012

Read more ›
นักธรณีวิทยาที่ออกสำรวจไกลที่สุด

นักธรณีวิทยาที่ออกสำรวจไกลที่สุด

นักธรณีวิทยาที่ออกภาคสนามไกลที่สุดได้เดินทางไปพร้อมกับทีมสำรวจดวงจันทร์อพอลโล่ 17 ซึ่งเป็นปฏิบัติการสุดท้ายของโครงการอพอลโล่ ด้วยระยะทางกว่าสามแสนแปดหมื่นสี่พันสี่ร้อยกิโลเมตรจากพื้นโลก เขาไปทำอะไรที่นั้น รับรองว่าการเดินทางของเขาครั้งนี้มีประโยชน์ต่อมวลมนุษยชาติแน่นอน

Read more ›