เนื้อหาน่าสนใจ

รอบรู้ธรณีไทย 3 – ย้อนเวลาหาอดีต

  รอบรู้ธรณีไทย 3 – ย้อนเวลาหาอดีต Back to the Past, Evolution of Life  กำเนิดและวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ศึกษาจากฟอสซิลในหินตะกอน ทำให้รู้จักมาตราธรณีกาล 3 มหายุคที่สำคัญ ได้แก่ พาลีโอโซอิก มีโซโซอิก ซีโนโซอิก

Read more ›

รอบรู้ธรณีไทย 2 – หิน

รอบรู้ธรณีไทย 2 – หิน Rocks Cycle การเกิดและวัฏจักรของหินทั้งสามจำพวก ได้แก่ หินอัคนี หินตะกอน หินแปร ต้นฉบับ: รอบรู้ธรณีไทย ผลิต: สำนักธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี (Thailand’s Department of Mineral Resources) http://www.dmr.go.th

Read more ›

รอบรู้ธรณีไทย 1 – รู้เรื่องโลก

  รอบรู้ธรณีไทย 1 – รู้เรื่องโลก Introduction to Geology & Structure and Evolution of Earth  ความหมายและความสำคัญของธรณีวิทยา วิธีการทางธรณีวิทยา สัณฐานของโลก องค์ประกอบภายในโลก (เปลือกโลก เนื้อโลก แก่นโลก) ทฤษฎีทวีปเดียว (แพนเจีย) การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก   ต้นฉบับ: รอบรู้ธรณีไทย  ผลิต: สำนักธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี (Thailand’s Department of Mineral Resources) http://www.dmr.go.th    

Read more ›
ความตั้งใจที่ต้องทำสำเร็จในปีใหม่นี้

ความตั้งใจที่ต้องทำสำเร็จในปีใหม่นี้

ขึ้นปีใหม่แล้ว ช่างถือเป็นฤกษ์งามยามเหมาะสำหรับกำหนดความตั้งใจที่จะเริ่มต้นทำสิ่งใหม่ๆ จริงๆ แล้วไม่ว่าจะเป็นวันเกิด วันแรกของการไปโรงเรียน หรือวันอื่นๆ ก็ล้วนเป็นวันดี เพื่อเริ่มทำสิ่งใหม่ๆ ได้ทั้งนั้น หากการเริ่มต้นส่ิงใหม่สามารถเกิดขึ้นได้ทุกเวลาและทุกสถานที่ ลองถือซะว่าวันนี้ของเราเป็นเหมือนจุดเชื่อมระหว่างอดีตและอนาคต ซึ่งเราสามารถสร้างความเปลี่ยนแปลงที่ดีให้เกิดขึ้นได้เสมอ เอาล่ะ มาดูกันดีกว่าว่าสิ่งที่นักสำรวจโลกอย่างเราไม่ควรพลาดที่จะทำในปีใหม่นี้มีอะไรบ้าง

Read more ›

3D Paper Models and Toys (Tectonics)

Plate Tectonic Globe (โลกจำลองขนาดเท่าลูกเทนนิส แสดงขอบเขตแผ่นเปลือกโลก เจ๋งมาก) – http://jclahr.com/alaska/aeic/taurho/globe.pdf Ocean Crust Model PDF, 479 KB. http://www.geoblox.com/FreeModels.html Sea-Floor Spreading and Subduction Model http://pubs.usgs.gov/of/1999/ofr-99-0132/

Read more ›
จำแนกแร่ในสิบขั้นตอน

จำแนกแร่ในสิบขั้นตอน

โลกนี้มีแร่มากมายหลายชนิด หน้าตาแตกต่างกันออกไป บางแร่สวยงาม บางแร่มีลักษณะโดดเด่น การที่จะรู้ได้ว่าแร่ที่เรามีอยู่นั้นคือแร่อะไร จำเป็นจะต้องมีวิธีการจำแนกอย่างมีระบบ โดยวิธีที่เป็นสากล สำหรับผู้เริ่มต้นก็สามารถวิเคราะห์แร่เบื้องต้นได้อย่างง่ายดาย ด้วยสิบขั้นตอนต่อไปนี้ ก็สามารถทำให้คุณกลายเป็นผู้เชียวชาญในการจำแนกแร่ขั้นเทพได้เลยทีเดียว

Read more ›
3D Paper Models and Toys (Volcanoes)

3D Paper Models and Toys (Volcanoes)

เกิดอาการติดใจกับของเล่นสนุกปนสาระแบบนี้ เลยต้องจัดมาให้ท่านสมาชิกอีกอย่างต่อเนื่อง แต่ต้องขอทยอยเอาลงให้เป็นหมวดๆ ไปละกันนะครับ ประเดิมด้วยโมเดลภูเขาไฟเลยละกัน

Read more ›
Paper models for geology mapwork

Paper models for geology mapwork

โมเดลกระดาษนี้มีประโยชน์อย่างมากในการช่วยให้เกิดความเข้าใจโครงสร้างทางธรณีวิทยามากขึ้น เหมาะสำหรับผู้ที่เรียนวิชาแผนที่ธรณีวิทยา หรือ Structural Geology หรือวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับรอยเลื่อนหรือแผนที่ ซึ่งสามารถสร้างเองได้อย่างง่ายดาย แบบชิวๆ

Read more ›

พิพิธภัณฑ์สิริธร

เมื่อมีโอกาสได้ไปเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ธรรมชาติและพิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์ในหลาย ๆ ที่ในภูมิภาคยุโรป เห็นมุมมองใหม่ ๆ ที่แตกต่างและหลากหลาย  ทำให้กลับไปนึกถึงบ้านเรา ว่า เอ้..เมืองไทยมีที่ไหนให้เราได้ไปเยี่ยมชมซากดึกดำบรรพ์ โดยเฉพาะไดโนเสาร์ ซึ่งเป็นพระเอกตลอดกาลของเด็ก ๆ บ้าง เมื่อตอนเป็นเด็ก ก็เคยได้ยิน ได้ฟังมาบ้าง บางแห่งก็เคยไปมาแล้ว…ว่าแต่ ผ่านมาหลายปีมันเปลี่ยนแปลงอะไรไปบ้างรึเปล่า  แล้วหน่วยงานของไทยมีการโปรโมท กันมากน้อยเพียงใด ก็เลยท่องเน็ทไปเรื่อย ๆ ถามเพื่อนบ้าง เลยไปเจอเวบไซท์ของพิพิธภัณฑ์สิรินธร ซึ่งตั้งอยู่ที่ อ.สหัสขันธ์ จ.กาฬสินธุ์ เดิมพิพิธภัณฑ์แห่งนี้ ก็คือพิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์ภูกุ้มข้าว ที่เราเคยรู้จักในอดีต แต่ได้มีการปรับปรุงและสร้างอาคารพิพิธภัณฑ์ขึ้นมาใหม่ รวมทั้งห้องจัดแสดงนิทรรศการที่อลังการกว่าเดิมหลายเท่า ได้ข่าวว่าจะมีพิธีเปิดอย่างเป็นทางการในเดือนธันวาคมนี้ ใครต้องการไปเยี่ยมชม (ค่าเข้าฟรี) เข้าไปดูรายละเอียด ติดต่อสอบถามถามลิงค์ด้านล่างนี้ได้เลยนะคะ  https://www.facebook.com/sirindhorn.museum นอกจากข่าวสารในเวบไซต์ของกรมทรัพยากรธรณีฯ แล้วยังมีอีกเวบไซต์นึงที่น่าสนใจ เกี่ยวกับทางด้านบรรพชีวินวิทยาทั้งไทยและเทศ เป็นเวบไซต์ของศูนย์วิจัยทางบรรพชีวินวิทยา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คลิกได้ที่นี่เลยค่ะ     http://www.prc.msu.ac.th/new_prc/ งานทางด้านบรรพชิวินวิทยา คนอาจจะไม่เห็นความสำคัญ เนื่องจากคนคิดว่าเป็นเรื่องไกลตัว ไม่เกี่ยวกับความเสียหายของบ้านเรือน หรือทรัพย์สิน และแม้ซากสัตว์ที่ตายมาเมื่อหลายล้านปีก่อนไม่ใช่ทรัพยากรที่สามารถลงทุนและได้ผลกำไรราคาแพงเช่นปิโตรเลียม  อย่างไรก็ตาม บรรพชิวินวิทยาก็เป็นธรณีวิทยาแขนงหนึ่งที่น่าสนใจ ซากดึกดำบรรพ์เป็นทรัพยากรสำคัญทำให้พวกเราได้เรียนรู้ถึงความเป็นมาของสิ่งมีชิวิตและวิวัฒนาการ และทำให้เรารู้ว่าโลกในอดีตมันต่างจากดาวเคราะห์สีฟ้าที่เราดำรงชีวิตอยู่ทุกวันนี้อยากสิ้นเชิง  

Read more ›
[คู่มือ] ดินถล่มจาก USGS

[คู่มือ] ดินถล่มจาก USGS

หนังสือคู่มือเกี่ยวกับดินถล่ม (ภาษาอังกฤษ)  เป็นหนังสือที่ให้ความรู้เกี่ยวกับธรณีพิบัติภัยดินถล่มทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นความหมาย การเกิด ชนิดการถล่ม และผลกระทบที่เกิดขึ้น อีกทั้งยังได้ให้คำแนะนำสำหรับการเตรียมตัวและป้องกันภัยอีกด้วย หนังสือคู่มือนี้เหมาะสำหรับประชาชนทั่วไปที่สนใจ

Read more ›