เนื้อหาน่าสนใจ

เยี่ยมชมภาควิชาธรณีวิทยา ในงานจุฬาฯวิชาการ 2555

เยี่ยมชมภาควิชาธรณีวิทยา ในงานจุฬาฯวิชาการ 2555

หลังจากที่มีการประชาสัมพันธ์การจัดงานจุฬาฯวิชาการ ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในระหว่างวันที่ 14-18 พฤศจิกายน ไปแล้วนั้น โดยเฉพาะในส่วนของภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จึงขอนำภาพบรรยากาศและความรู้สึกบางส่วน มาบอกเล่าเก้าสิบให้น้องๆฟัง

Read more ›
ภาพนักสำรวจและช่างภาพกำลังจัดแสงไฟในถ้ำคริสตัล ประเทศเม็กซิโก  (Photo by Oscar Necoechea / Speleoresearch & Film)

ถ้ำคริสตัลยักษ์ในเม็กซิโก

ผลึกแร่ธรรมชาติที่ใหญ่ที่สุดในโลกถูกค้นพบในถ้ำใต้ดิน ทางตอนเหนือของประเทศเม็กซิโก ประกอบไปด้วยผลึกแร่ยิปซัม มีลักษณะโปร่งใส เกิดขึ้นในสภาพแวดล้อมที่ท้าทายต่อนักสำรวจเป็นอย่างมาก สภาพแวดล้อมที่ไม่มีใครสามารถทนอยู่ได้นานเกินหนึ่งชั่วโมง

Read more ›
ภาพพระพุทธมหาวชิรอุตตโมภาสศาสดาที่ยิงด้วยเลเซอร์ชนิด Argon Laser ซึ่งเป็นเลเซอร์แสงสีเขียวขนาด 20 วัตต์ ปล่อยแสงเลเซอร์ ผ่านไปยัง SCANNER ซึ่งถูกควบคุมให้สร้างเป็นรูปพระด้วยคอมพิวเตอร์แล้ว Project ภาพขององค์พระไปปรากฏบนหน้าผาเขาชีจรรย์

พระพุทธรูปแกะสลักเขาชีจรรย์ อัศจรรย์วันสิ้นปี

ความรู้และประวัติโครงการก่อสร้างพระพุทธรูปแกะสลักหน้าผาเขาชีจรรย์ “พระพุทธมหาวชิรอุตตโมภาสศาสดา” อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี บันทึกโดย ดร.เดชา หลวงพิทักษ์ชุมพล ผู้อำนวยการโครงการฯ

Read more ›
นิทรรศการธรณีวิทยา “จุฬาฯ วิชาการ” ๒๕๕๕

นิทรรศการธรณีวิทยา “จุฬาฯ วิชาการ” ๒๕๕๕

Read more ›
ธรณีวิทยาอ่าวไทย

ธรณีวิทยาอ่าวไทย

อ่าวไทยเป็นส่วนในสุดของมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก เชื่อมต่อมาจากด้านตะวันตกของทะเลจีนใต้ มีลักษณะเป็นอ่าวกึ่งปิด ที่โอบล้อมด้วยชายฝั่งทะเลของคาบสมุทรมลายู และแผ่นดินของทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยมีช่องเปิดทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ระหว่างแนวเชื่อมต่อระหว่างปลายแหลมญวน ประเทศเวียดนาม และเมืองโกตาบารู ประเทศมาเลเซีย

Read more ›
หมุดทองระบุตำแหน่งชุดหินอ้างอิง (GSSP) ของยุคเอเดียคาเรน (Ediacaran Period) ในประเทศออสเตรเลีย รอยวงกลมบนหินคือตำแหน่งที่เก็บตัวอย่างหินสำหรับการศึกษาการเปลี่ยนแปลงสนามแม่เหล็กโลก

ธรณีกาล ตารางเวลาของโลก

การลำดับช่วงเวลาของโลกตั้งแต่เกิดจนถึงปัจจุบัน เรียกว่า ธรณีกาล แบ่งเป็น บรมยุค (Eon) มหายุค (Era) ยุค (Period) และสมัย (Epoch) หินทุกชนิดที่พบบนโลกจะถูกจัดลำดับแก่อ่อนตามอายุที่วิเคราะห์ได้ อายุของหินเหล่านี้จะถูกนำมาจัดทำเป็นตารางธรณีกาล (Chronostratigraphic Chart) สำหรับการศึกษาทางธรณีวิทยาทุกแขนงทั่วโลก

Read more ›
รางวัลโนเบลสาขาธรณีวิทยา?

รางวัลโนเบลสาขาธรณีวิทยา?

และแล้วก็ถึงฤดูกาลของการประกาศผลรางวัลโนเบลอีกครั้ง เหรียญรางวัลที่มีการมอบให้กับผู้สร้างประโยชน์ให้กับมนุษย์โลก และเป็นรางวัลที่นักวิทยาศาสตร์หลายคนใฝ่ฝัน ซึ่งเราก็เคยได้ยินชื่อรางวัลนี้มาตั้งแต่เด็ก และก็คิดว่านักวิทยาศาสตร์ทุกแขนงก็มีโอกาศได้รางวัลนี้เช่นกัน

Read more ›
[Sponsored Video] : Earth 2050 พลังงานในโลกอนาคต

[Sponsored Video] : Earth 2050 พลังงานในโลกอนาคต

คาดการณ์ว่าในอีก 40 ปีข้างหน้า หรือในปีพ.ศ.2595 จะมีประชากรอาศัยอยู่บนโลกมากถึง 9,000 ล้านคน การเพิ่มขึ้นของประชากรโลกส่งผลให้ความต้องการด้านพลังงานมีสูงขึ้น สารคดี Earth 2050: The Future of Energy โดยบริษัท Shell จะพาท่านไปชมโลกอนาคต และความท้าทายในการแสวงหาพลังงาน เพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์ในทุกรูปแบบ

Read more ›
ภาพต้นแบบของ “พระพุทธมหาวชิรอุตตโมภาสศาสดา”

พระพุทธรูปแกะสลักเขาชีจรรย์ – ของสำคัญ

ความรู้และประวัติโครงการก่อสร้างพระพุทธรูปแกะสลักหน้าผาเขาชีจรรย์ “พระพุทธมหาวชิรอุตตโมภาสศาสดา” อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี บันทึกโดย ดร.เดชา หลวงพิทักษ์ชุมพล ผู้อำนวยการโครงการฯ

Read more ›
ภาพการระเบิดหน้าผาหินปูน

พระพุทธรูปแกะสลักเขาชีจรรย์ – แต่งหน้าผา

ความรู้และประวัติโครงการก่อสร้างพระพุทธรูปแกะสลักหน้าผาเขาชีจรรย์ “พระพุทธมหาวชิรอุตตโมภาสศาสดา” อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี บันทึกโดย ดร.เดชา หลวงพิทักษ์ชุมพล ผู้อำนวยการโครงการฯ

Read more ›