Category: สื่อการเรียนรู้

กราฟิกธรณีวิทยาสองมิติ

กราฟิกธรณีวิทยาสองมิติ

ทำอย่างไรให้คนเข้าใจธรณีวิทยามากขึ้น? โดยที่ใช้คำให้น้อย มีภาพประกอบ และส่งเสริมให้เกิดการคิดตาม ถ้าคิดในฐานะนักธรณีวิทยา โจทย์นี้ถือว่ายาก เพราะจะติดอยู่กับการคิดมากเกินไป แต่ถ้าคิดในฐานะนักออกแบบ แค่เลือกภาพกราฟิกอย่างง่ายและใช้การเปรียบเทียบอย่างเหมาะสม ก็น่าจะตอบโจทย์นี้ได้

Read more ›
คัมภีร์วิชาธรณี

คัมภีร์วิชาธรณี

โครงการแลกเปลี่ยนเอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชาธรณีวิทยา สมาพันธ์นิสิตนักศึกษาธรณีวิทยาแห่งประเทศไทย (G.S.A.T) 

Read more ›
หมุดทองระบุตำแหน่งชุดหินอ้างอิง (GSSP) ของยุคเอเดียคาเรน (Ediacaran Period) ในประเทศออสเตรเลีย รอยวงกลมบนหินคือตำแหน่งที่เก็บตัวอย่างหินสำหรับการศึกษาการเปลี่ยนแปลงสนามแม่เหล็กโลก

ธรณีกาล ตารางเวลาของโลก

การลำดับช่วงเวลาของโลกตั้งแต่เกิดจนถึงปัจจุบัน เรียกว่า ธรณีกาล แบ่งเป็น บรมยุค (Eon) มหายุค (Era) ยุค (Period) และสมัย (Epoch) หินทุกชนิดที่พบบนโลกจะถูกจัดลำดับแก่อ่อนตามอายุที่วิเคราะห์ได้ อายุของหินเหล่านี้จะถูกนำมาจัดทำเป็นตารางธรณีกาล (Chronostratigraphic Chart) สำหรับการศึกษาทางธรณีวิทยาทุกแขนงทั่วโลก

Read more ›
นิตยสารไนส์ 2 ไดโนเสาร์

นิตยสารไนส์ 2 ไดโนเสาร์

gneiss นิตยสารออนไลน์ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับธรณีวิทยาและการท่องเที่ยว จัดทำโดย GeoThai.net เล่มที่ 2 มีเนื้อหาหลักเกี่ยวกับ ไดโนเสาร์ ซึ่งประกอบด้วย5 เหตุการณ์การสูญพันธุ์ครั้งใหญ่ – เรื่องที่ไม่ลับของไดโนเสาร์ – การจำแนกไดโนเสาร์ – ไดโนเสาร์ที่ใหญ่ที่สุดในโลก – นักธรณีพาเที่ยวซานฟรานซิสโก

Read more ›
นิตยสารไนส์ 1 แผ่นดินไหว

นิตยสารไนส์ 1 แผ่นดินไหว

gneiss นิตยสารออนไลน์ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับธรณีวิทยาและการท่องเที่ยว จัดทำโดย GeoThai.net เล่มที่ 1 มีเนื้อหาหลักเกี่ยวกับ แผ่นดินไหว ซึ่งประกอบด้วยบทความ บทสัมภาษณ์ คอลัมน์เด่น – ธรณีสัญจรประเทศสเปน และ ดวงของคนจะดัง

Read more ›
เรียนรู้ธรณีวิทยาโครงสร้าง

เรียนรู้ธรณีวิทยาโครงสร้าง

โลกประกอบด้วยแผ่นเปลือกโลกหลายแผ่นที่มีการเคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลา การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลกทำให้เกิดการเปลี่ยนสภาพของหินที่ก่อให้เกิดโครงสร้างทางธรณีวิทยาที่สำคัญต่อการสำรวจทรัพยากรธรรมชาติ และการดำรงชีวิตของมนุษย์

Read more ›
เรียนรู้เรื่องแผ่นดินไหว

เรียนรู้เรื่องแผ่นดินไหว

แผ่นดินไหว เป็นปรากฏการณ์การสั่นสะเทือนของพื้นผิวโลกที่สามารถก่อให้เกิดความเสียหายและภัยพิบัติต่อบ้านเมือง สาเหตุหลักของการเกิดแผ่นดินไหวนั้นส่วนใหญ่เกิดจากธรรมชาติ การเรียนรู้และเข้าใจถึงกระบวนการเกิดแผ่นดินไหว จะช่วยให้มนุษย์เราสามารถเตรียมพร้อมรับมือกับแผ่นดินไหวที่จะเกิดขึ้นในอนาคตได้

Read more ›
เรียนรู้เรื่องหิน

เรียนรู้เรื่องหิน

หินคืออะไร? คำถามง่ายๆ ที่หลายคนอาจจะนึกไม่ออกบอกไม่ถูก หลังจากที่ได้เรียนรู้เรื่องหินผ่านสื่อการสอนชุดนี้แล้ว จะทำให้คุณได้รู้จักหินมากขึ้น เนื้อหาชุดนี้ประกอบด้วย หินอัคนี หินตะกอน หินแปร ส่วนประกอบของเปลือกโลก และวัฏจักรของหิน

Read more ›

รอบรู้ธรณีไทย ตอนพิเศษ – สึนามิ

  รอบรู้ธรณีไทย ตอนแทรก – ความรู้และประมวลเหตุการณ์สึนามิในไทย What’s Tsunami ? and about Tsunami in Thailand 2004  สึนามิ แปลว่า คลื่นอ่าว มักเกิดจากแผ่นดินไหวใต้ทะเล บางครั้งเกิดจากมวลแผ่นดินถล่มขนาดใหญ่บริ เวณชายฝั่งก็ได้ แล้วเกิดการกระเพื่อมของมวลน้ำทะเล ร่วมกับปัจจัยด้านความลาดชันของไหล่ทวีปแล ะลักษณะของชายฝั่งทำให้ลูกคลื่นสูงยิ่งขึ้ น (เปรียบเทียบน้ำที่กระฉอกขอบถังจำนวนมากเม ื่อสั่นสะเทือนก้นถังด้วยการลากเพียงเล็กน ้อย) ข้อสังเกตก่อนเกิดสึนามิมักพบปรากฏการณ์ดึ งมวลน้ำ ระดับน้ำทะเลลดลงก่อนโถมกลับมาเป็นคลื่นลู กใหญ่ สึนามิเมื่อ 26 ธ.ค. 2547 เกิดจากศูนย์กลางแผ่นดินไหวเป็นรอยเลื่อนย าว ทิศเหนือนอกเกาะสุมาตรา ความรุนแรง 9.3 ริกเตอร์ นอกจากอินโดนีเซียและไทย คลื่นยังแผ่ขยายไปถึงชายฝั่งอินเดียและแอฟ ริกา ส่วนประเทศไทยได้รับผลกระทบ ได้แก่ จังหวัดระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ ตรัง และสตูล โดยสึนามิที่ เขาหลัก ลักษณะสันคลื่นไม่สูงแต่โถมเข้าลึกด้วยพลั งทำลายสูง ความเร็วคลื่น 35-40 กม./ชม. ใช้เวลาเข้าท่วมเพียง […]

Read more ›

รอบรู้ธรณีไทย 12 – ธรณีวิทยาเพื่อใคร

  รอบรู้ธรณีไทย 12 – ธรณีวิทยาเพื่อใคร Why and Who should to learn geology ?  ประโยชน์ที่เกิดจากการศึกษาทางธรณีวิทยา ได้แก่  1.เพื่อพัฒนาอาคารสถานที่โครงสร้างพื้นฐาน  2.เพื่อบรรเทาหลีกเลี่ยงธรณีพิบัติภัย  3.เพื่อพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติ  4.เพื่อจัดสรรพื้นที่   ต้นฉบับ: รอบรู้ธรณีไทย  ผลิต: สำนักธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี (Thailand’s Department of Mineral Resources) http://www.dmr.go.th

Read more ›